Page 156 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 156
148
3. อํานาจตุลาการ พระมหากษัตริยทรงเปนผูใชพระราชอํานาจตุลาการฝายทางศาล มีอํานาจ
หนาที่รักษาความยุติธรรมตามที่กฎหมายกําหนด รักษาเสรีภาพของบุคคล ปองกันและแกไขมิใหบุคคลลวงล้ํา
เสรีภาพตอกัน ตลอดจนคอยควบคุมมิใหเจาหนาที่ของรัฐใชอํานาจเกินขอบเขต
การกําหนดใหมีการแยกใชอํานาจอธิปไตย 3 สวน และมีสถาบัน รัฐสภา รัฐบาลและศาล
คอยรับผิดชอบเฉพาะสวน ทั้งนี้เปนไปตามหลักการประชาธิปไตยที่ไมตองการใหมีการรวบอํานาจ แตตองใหมี
การถวงดุลอํานาจซึ่งกันและกัน เปนการปองกันมิใหเกิดการใชอํานาจแบบเผด็จการ ยกตัวอยางเชน ถาให
คณะรัฐมนตรีใชอํานาจนิติบัญญัติและอํานาจบริหาร คณะรัฐมนตรีก็อาจจะออกกฎหมายที่ไมสอดคลองกับ
ความตองการของประชาชน และเมื่อนํากฎหมายนั้นมาบังคับใชก็จะไมเกิดประโยชนตอทุกฝายโดยเฉพาะ
ประชาชน ดังนั้นการบริหารประเทศไทยทั้ง 3 สถาบันจึงเปนหลักประกันการคานอํานาจซึ่งกันและกันและ
ประการสําคัญเปนการปองกันการใชอํานาจเผด็จการ
ความสัมพันธระหวางรัฐบาลกับประชาชนในระบอบประชาธิปไตย
ดังไดกลาวแลววาการปกครองแบบประชาธิปไตย ประชาชนเปนผูมีอํานาจสูงสุด มีสิทธิเสรีภาพ
และหนาที่ตามกฎหมายกําหนด ที่สําคัญคือประชาชนเลือกผูแทนราษฎรซึ่งสังกัดพรรคการเมืองและรัฐบาล
มาจากผูแทนราษฎรตามที่กําหนดไวในกฎหมายรัฐธรรมนูญดังนั้น รัฐบาลกับประชาชนจึงมีความเกี่ยวพันกัน
ตลอดเวลา กลาวคือ รัฐบาลก็มีหนาที่ออกกฎหมายบริหารประเทศตามเจตนารมณของประชาชน จึงตองอาศัย
ความสัมพันธกับประชาชนอยางใกลชิด เชน คอยสํารวจตรวจสอบปญหาและความตองการของประชาชน
อยูเสมอและตองปฏิบัติตอประชาชนอยางเสมอภาคกันทุกคน ขณะเดียวกันประชาชนก็ตองประพฤติปฏิบัติตน
ตอบานเมืองตามที่กําหนดไวในกฎหมายรัฐธรรมนูญเหมือนกัน จึงอาจกลาวไดวา ความสัมพันธระหวางรัฐบาล
กับประชาชนในระบอบประชาธิปไตย จึงเปนไปในลักษณะการปกครองที่ตองพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน
การใชอํานาจอธิปไตยของประชาชนตามระบอบประชาธิปไตย
อํานาจอธิปไตยเปนอํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศตามระบอบประชาธิปไตย ประชาชน
สามารถใชอํานาจอธิปไตยของตนได 2 วิธี คือ
1. โดยทางตรง หมายถึง การใชอํานาจอธิปไตยดวยตนเองโดยตรง จะใชไดกับรัฐเล็ก ๆ ที่มี
ประชากรไมมาก