Page 32 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 32

24


               ที่ราบ ซึ่งสวนใหญเปนที่ราบลูกฟูกและมีแมน้ําที่ไหลลงสูอาวไทย แมน้ําในภาคตะวันออกสวนมากเปนแมน้ํา

               สายสั้น ๆ ซึ่งไดพัดพาเอาดินตะกอนมาทิ้งไว จนเกิดเปนที่ราบแคบ ๆ ตามที่ลุมลักษณะชายฝงและมีลักษณะ
               ภูมิประเทศเปนเกาะ อาว และแหลม ลักษณะภูมิอากาศ ภาคตะวันออกมีชายฝงทะเลและมีเทือกเขาเปนแนว

               ยาว เปดรับลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตจากอาวไทยอยางเต็มที่   จึงทําใหภาคนี้มีฝนตกชุกหนาแนนบางพื้นที่

               ไดแก พื้นที่รับลมดานหนาของเทือกเขาและชายฝงทะเล อุณหภูมิของภาคตะวันออกจะมีคาสม่ําเสมอตลอด
               ทั้งปและมีความชื้นคอนขางสูง เหมาะแกการทําสวน

                          5. เขตที่ราบสูงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  ลักษณะภูมิประเทศเปนที่ราบสูงขนาดต่ําทางบริเวณ
               ตะวันตกของภาคจะมีภูเขาสูง ทางบริเวณตอนกลางของภาคมีลักษณะเปนแองกะทะ เรียกวา “แองที่ราบ-

               โคราช” มีแมน้ําชีและแมน้ํามูลไหลผาน ยังมีที่ราบโลงอยูหลายแหง เชน ทุงกุลารองไห ทุงหมาหิว ซึ่งสามารถ
               ทํานาไดแตไดผลผลิตต่ําและมีแนวทิวเขาภูพานทอดโคงยาวคอนไปทางตะวันออกเฉียงเหนือของภาคถัดเลยจาก

               แนวทิวเขาภูพานไปทางเหนือมีแองทรุดต่ําของแผนดิน เรียกวา “แองสกลนคร”

                          6. เขตคาบสมุทรภาคใต ลักษณะภูมิประเทศเปนคาบสมุทรยื่นไปในทะเล มีเทือกเขาทอดยาว
               ในแนวเหนือใต  ที่เปนแหลงทับถมของแรดีบุก  และมีความสูงไมมากนักเปนแกนกลางบริเวณชายฝงทะเล

               ทั้งสองดานของภาคใตเปนที่ราบ มีประชากรอาศัยอยูหนาแนน ภาคใตไดรับอิทธิพลความชื้นจากทะเลทั้งสอง

               ดาน มีฝนตกชุกตลอดป และมีปริมาณฝนเฉลี่ยสูง เหมาะแกการเพาะปลูกพืชผลเมืองรอน ที่ตองการความชื้นสูง
               ลักษณะภูมิอากาศไดรับอิทธิพลของลมมรสุมทั้งสองฤดู จึงเปนภาคที่มีฝนตกตลอดทั้งป ทําใหเหมาะแกการ

               ปลูกพืชเมืองรอนที่ตองการความชุมชื้นสูง เชน ยางพารา ปาลมน้ํามัน เปนตน

                          องคประกอบของสิ่งแวดลอมทางกายภาพของไทย ที่สําคัญมี 3 องคประกอบ ไดแก ลักษณะ
               ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งมีความเกี่ยวพันซึ่งกันและกันและมีผลตอความเปนอยูของ

               มนุษยทั้งทางตรงและทางออม
                          1) ลักษณะภูมิประเทศ  ลักษณะของเปลือกโลกที่เห็นเปนรูปแบบตางๆ

                            แบงเปน 2 ประเภท คือ ลักษณะภูมิประเทศหลัก ไมเปลี่ยนรูปงาย ไดแก ที่ราบ ที่ราบสูง ภูเขา

               และเนินเขา ลักษณะภูมิประเทศรองเปลี่ยนแปลงรูปไดงาย ไดแก หุบเขา หวย เกาะ อาว แมน้ํา สันดอนทราย
               แหลม ทะเลสาบ

                          2) ลักษณะภูมิอากาศ  หมายถึง  คาเฉลี่ยของลมฟาอากาศที่เกิดขึ้นเปนประจําในบริเวณใด
               บริเวณหนึ่ง ในชวงระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งมีปจจัยควบคุมอากาศ เชน ตําแหนงละติจูด

                          3) ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง สิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและมนุษย

               สามารถนําไปใชประโยชนในการดํารงชีวิตได  แบงออกเปน  4  ประเภท  คือ  ทรัพยากรดิน  ทรัพยากรน้ํา
               ทรัพยากรปาไมและทรัพยากรแรธาตุ ทรัพยากรธรรมชาติ แบงเปน 3 ประเภท คือ

                            -   ทรัพยากรที่ใชแลวหมดไปไมสามารถเกิดมาทดแทนใหมได เชน น้ํามัน แรธาตุ

                            -   ทรัพยากรที่ใชแลวสามารถสรางทดแทนได เชน ปาไม สัตวบก สัตวน้ํา
                            -   ทรัพยากรที่ใชแลวไมหมดไป เชน น้ํา อากาศ เปนตน
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37