Page 31 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 31

23


               เรื่องที่ 4 สภาพภูมิศาสตรกายภาพของไทยที่สงผลตอทรัพยากรตาง ๆ และสิ่งแวดลอม


                       ประเทศไทยมีความแตกตางกันทางสภาพภูมิศาสตรกายภาพ เนื่องจากมีปจจัยที่กอใหเกิดลักษณะ

               ภูมิประเทศ คือ

                       1)  การผันแปรของเปลือกโลก  เกิดจากพลังงานภายในโลกที่มีการบีบ  อัด  ใหยกตัวสูงขึ้นหรือ
               ทรุดต่ําลง สวนที่ยกตัวสูงขึ้น ไดแก ภูเขา ภูเขาไฟ เนินเขา ที่ราบสูง สวนที่ลดต่ําลง ไดแก หุบเขา ที่ราบลุม

                       2) การกระทําของตัวกระทําตาง ๆ เมื่อเกิดการผันแปรแบบแรกแลว ก็จะเกิดการกระทําจากตัวตาง ๆ
               เชน ลม น้ํา คลื่น ไปกัดเซาะพังทลายภูมิประเทศหลัก ลักษณะของการกระทํามี 2 ชนิด   คือ การกัดกรอน

               ทําลาย คือ การทําลายผิวโลกใหต่ําลง โดย  ลม อากาศ น้ํา น้ําแข็ง คลื่นลมและ  การสะสมเสริมสราง คือ

               การปรับผิวโลกใหราบโดยเปนไปอยางชา ๆ แตตอเนื่อง
                       3) การกระทําของมนุษย เชน การสรางเขื่อน การระเบิดภูเขา

                          ดวยเหตุดังกลาว นักภูมิศาสตรไดใชหลักเกณฑความแตกตางทางดานกายภาพ เชน ภูมิประเทศ

               ภูมิอากาศของทองถิ่น มาใชในการแบงภาคภูมิศาสตร จึงทําใหประเทศไทยมีสภาพภูมิศาสตรที่แบงเปน 6 เขต
               คือ

                          1. เขตภูเขาและหุบเขาทางภาคเหนือ  ลักษณะภูมิประเทศเปนภูเขามากกวาภาคใด ๆ และ

               เทือกเขาจะทอดยาวในแนวเหนือใตสลับกับที่ราบหุบเขา โดยมีที่ราบหุบเขาแคบ ๆ ขนานกันไป อันเปนตน
               กําเนิดของแมน้ําลําคลองหลายสาย แควใหญนอยในภาคเหนือทําใหเกิดที่ราบลุมแมน้ํา  ซึ่งอยูระหวางหุบเขา

               อันอุดมสมบูรณไปดวยทรัพยากรธรรมชาติ  ราษฎรสวนใหญประกอบอาชีพเพาะปลูก  เลี้ยงสัตวและทํา
               เหมืองแร นอกจากนี้ทรัพยากรธรรมชาติยังเอื้ออํานวยใหเกิดอุตสาหกรรมในครัวเรือนที่มีชื่อเสียง เปนที่รูจักกัน

               มาชานาน ภาคเหนือจะอยูในเขตรอนที่มีลักษณะภูมิอากาศคลายคลึงกับภูมิอากาศทางตอนใตของเขตอบอุน

               ของประเทศที่มี 4 ฤดู
                          2. เขตเทือกเขาทางภาคตะวันตก    ลักษณะภูมิประเทศเปนพื้นที่แคบ ๆ  ทอดยาวขนานกับ

               พรมแดนประเทศพมา สวนใหญเปนภูเขา มีแหลงทรัพยากรแรธาตุและปาไมของประเทศ  มีปริมาณฝนเฉลี่ย
               ต่ํากวาทุกภาคและเปนภูมิภาคที่ประชากรอาศัยอยูนอย สวนใหญอยูในเขตที่ราบลุมแมน้ําและชายฝงและ

               มักประกอบอาชีพปลูกพืชไรและการประมง ลักษณะภูมิอากาศโดยทั่วไป มีความแหงแลงมากกวาในภาคอื่น ๆ

               เพราะมีเทือกเขาสูงเปนแนวกําบังลม ทําใหอากาศในฤดูรอนและฤดูหนาวแตกตางกันอยางเดนชัด เนื่องจาก
               แนวเทือกเขาขวางกั้น  ทิศทางลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต กอใหเกิดบริเวณเงาฝนหรือพื้นที่อับลม  ฝนจะตก

               ดานตะวันตกของเทือกเขามากกวาดานภาคตะวันออก

                          3. เขตที่ราบของภาคกลาง  ลักษณะภูมิประเทศสวนใหญเปนที่ราบลุมแมน้ําอันกวางใหญ
               มีลักษณะเอียงลาดจากเหนือลงมาใต  เปนที่ราบที่มีความอุดมสมบูรณมากที่สุดเพราะเกิดการทับถมของ

               ตะกอน เชน ที่ราบลุมแมน้ําเจาพระยา และทาจีน เปนแหลงที่ทําการเกษตร (ทํานา)  ที่ใหญที่สุด มีเทือกเขา
               เปนขอบของภาค ทั้งดานตะวันตกและตะวันออก

                          4. เขตภูเขาและที่ราบบริเวณชายฝงทะเลตะวันออก ลักษณะภูมิประเทศเปนเทือกเขาสูงและ
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36