Page 26 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 26

18


                          4. ดานสังคม  สภาพแวดลอมทางสังคมมีการเปลี่ยนแปลงอยูเสมอที่เห็นชัดคือสภาพแวดลอม

               ทางภูมิศาสตร ซึ่งทําใหสภาพแวดลอมทางสังคมเปลี่ยนแปลงไป การศึกษาสภาพการเปลี่ยนแปลงตองอาศัย
               แผนที่เปนสําคัญและอาจชวยใหการดําเนินการวางแผนพัฒนาสังคมเปนไปในแนวทางที่ถูกตอง

                          5. ดานการเรียนการสอน  แผนที่เปนตัวสงเสริมกระตุนความสนใจและกอใหเกิดความเขาใจ

               ในบทเรียนดีขึ้น ใชเปนแหลงขอมูลทั้งทางดานกายภาพ ภูมิภาค วัฒนธรรม เศรษฐกิจ สถิติและการกระจายของ
               สิ่งตาง ๆ รวมทั้งปรากฏการณทางธรรมชาติและปรากฏการณตาง ๆ ใชเปนเครื่องชวยแสดงภาพรวมของพื้นที่

               หรือของภูมิภาค อันจะนําไปศึกษาสถานการณและวิเคราะหความแตกตางหรือความสัมพันธของพื้นที่
                          6. ดานสงเสริมการทองเที่ยว แผนที่มีความจําเปนตอนักทองเที่ยวในอันที่จะทําใหรูจักสถานที่

               ทองเที่ยวไดงาย สะดวกในการวางแผนการเดินทางหรือเลือกสถานที่ทองเที่ยวตามความเหมาะสม
                          ชนิดของแผนที่  แบงตามการใชงานได 3 ชนิด ไดแก

                          1. แผนที่ภูมิประเทศ เปนแผนที่แสดงความสูงต่ําของพื้นผิวโลก โดยใชเสนชั้นความสูงบอกคา

               ความสูงจากระดับน้ําทะเลปานกลาง แผนที่ชนิดนี้เปนพื้นฐานที่จะนําไปทําขอมูลอื่น ๆ เกี่ยวกับแผนที่
                          2. แผนที่เฉพาะเรื่อง เปนแผนที่ที่แสดงลักษณะใดลักษณะหนึ่งโดยเฉพาะ ไดแก แผนที่รัฐกิจ

               แสดงเขตการปกครองหรืออาณาเขต แผนที่แสดงอุณหภูมิของอากาศ แผนที่แสดงปริมาณน้ําฝน แผนที่แสดง

               การกระจายตัวของประชากร แผนที่เศรษฐกิจ แผนที่ประวัติศาสตร เปนตน
                          3. เปนแผนที่ที่รวบรวมเรื่องตาง ๆ ทั้งลักษณะทางกายภาพ ทางเศรษฐกิจ ทางสังคม ทางดาน

               ประชากร และอื่น ๆ ไวในเลมเดียวกัน

                          องคประกอบของแผนที่มีหลายองคประกอบ คือ
                          1. สัญลักษณ คือ เครื่องหมายที่ใชแทนสิ่งตาง ๆ ตามที่ตองการแสดงไวในแผนที่ เพื่อใหเขาใจ

               แผนที่ไดงายขึ้น เชน จุด วงกลม เสน ฯลฯ
                          2. มาตราสวน คือ อัตราสวนระยะหางในแผนที่กับระยะหางในภูมิประเทศจริง

                          3. ระบบอางอิงในแผนที่ ไดแก เสนขนานละติจูด และเสนลองติจูด (เมริเดียน)

                              เสนละติจูด เปนเสนสมมติที่ลากไปรอบโลกตามแนวนอนหรือแนวทิศตะวันออก ตะวันตก
               แตละเสนหางกัน 1 องศา โดยมีเสน 0 องศา (เสนศูนยสูตร) แบงกึ่งกลางโลก เสนที่อยูเหนือเสนศูนยสูตร

               เรียกวา “เสนองศาเหนือ” เสนที่อยูใตเสนศูนยสูตร เรียกวา “เสนองศาใต” ละติจูด มีทั้งหมด 180 เสน
                              เสนลองติจูด เปนเสนสมมติที่ลากไปรอบโลกในแนวตั้งจากขั้วโลกเหนือไปยังขั้วโลกใต แตละ

               เสนหางกัน 1 องศา กําหนดใหเสนที่ลากผานตําบลกรีนิช กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เปนเสน 0 องศา

               (เมริเดียนปฐม) ถานับจากเสนเมริเดียนปฐม ไปทางตะวันออก เรียกเสนองศาตะวันออก ถานับไปทางตะวันตก
               เรียกเสนองศาตะวันตก ลองติจูด มีทั้งหมด 360 เสน

                              พิกัดภูมิศาสตร   เปนตําแหนงที่ตั้งของจุดตาง ๆ  บนพื้นผิวโลก  เกิดจากการตัดกันของ

               เสนขนานละติจูดและเสนเมริเดียน โดยเสนสมมติทั้งสองนี้จะตั้งฉากซึ่งกันและกัน
                          4. ขอบระวาง แผนที่ทุกชนิดควรมีขอบระวาง เพื่อชวยใหดูเรียบรอยและเปนการกําหนดขอบเขต

               ของแผนที่ดวย ขอบระวางมักแสดงดวยเสนตรงสองเสนหรือเสนเดียว
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31