Page 42 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 42

34


                            บริเวณที่ราบลุมแมน้ํา แมน้ําชี แมน้ํามูลและแมน้ําโขง จะมีความอุดมสมบูรณคอนขางมาก

               นิยมปลูกผักและผลไม สวนที่เปนน้ําขังมักเปนดินเหนียว ใชทํานา
                            บริเวณลําตะพักลําน้ํา สวนใหญเปนดินทราย ใชทํานาไดแตผลผลิตนอย เชน ทุงกุลารองไห

               บริเวณที่สูงกวานี้ นิยมปลูกมันสําปะหลัง

                            บริเวณที่สูงและภูเขา เนื้อดินหยาบเปนลูกรัง ที่ดินนี้มักเปนปาไม
                          2) ทรัพยากรน้ํา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะมีปญหาในเรื่องของน้ํามากกวาภาคอื่น ๆ แมวาฝน

               จะตกหนัก แตในหนาแลงจะขาดแคลนน้ําเพื่อการเกษตรและการบริโภค น้ําในภาคนี้ จะแบงเปน 2 ประเภท คือ
                            น้ําบนผิวดิน ไดแก น้ําในแมน้ําชี แมน้ํามูลและแมน้ําสายตาง ๆ ในฤดูฝน   จะมีปริมาณ

               น้ํามาก แตในฤดูแลงน้ําในแมน้ําจะมีนอย เนื่องจากพื้นดินเปนดินทราย เมื่อฝนตกไมสามารถอุมน้ําได สวนน้ํา
               ในแมน้ําลําคลองก็มีปริมาณนอย เพราะน้ําจะซึมลงพื้นทราย แตภาคนี้ถือวาโชคดีที่มีเขื่อน อางเก็บน้ําและฝาย

               มากกวาทุก ๆ ภาค

                            น้ําใตดิน ปริมาณน้ําใตดินมีมาก แตมีปญหาน้ํากรอยและน้ําเค็ม การขุดบอตองขุดใกลแหลง
               แมน้ําเทานั้น หรือตองขุดใหลึกจนถึงชั้นหินแข็ง

                          3)  ทรัพยากรแร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีแรโพแทชมากที่สุด จะมีอยูมากบริเวณตอนกลาง

               และตอนเหนือของภาค นอกจากนี้ยังมีแรเกลือหินมากที่สุดในประเทศไทย
                          4)    ทรัพยากรปาไม  ปาไมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะเปนปาแดง  ซึ่งเปนปาผลัดใบเปน

               ปาโปรง ปาแดงชอบดินลูกรังหรือดินทราย เชน ไมเต็ง รัง พลวง พะเยา ฯลฯ

                          5)    ทรัพยากรดานการทองเที่ยว    มีแหลงทรัพยากรธรรมชาติและที่มนุษยสรางขึ้น  เชน
               วิวทิวทัศน (ภูกระดึง) เขื่อน ผาหิน (จังหวัดอุบลราชธานี) หลักฐานทางโบราณคดี (จังหวัดอุดรธานี)

                          ประชากร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีประชากรหนาแนนอาศัยอยูตามแองโคราชบริเวณที่ราบลุม
               ของแมน้ําชีและแมน้ํามูล

                          การประกอบอาชีพของประชากร ประชากรประกอบอาชีพที่สําคัญ คือ

                          -  การเพาะปลูก เชน การปลูกขาว การทําไร (ขาวโพด มันสําปะหลัง ออย ปอ ยาสูบ)
                          -  การเลี้ยงสัตว  เชน โค กระบือ และการประมงตามเขื่อนและอางเก็บน้ํา

                          -  อุตสาหกรรม สวนใหญเปนการแปรสภาพผลผลิตทางการเกษตร เชน โรงสีขาว
               โรงงานมันสําปะหลังอัดเม็ด โรงงานทําโซดาไฟ (จากแรเกลือหิน และแรโพแทช)

                       ภาคใต  ลักษณะภูมิประเทศของภาคใตเปนคาบสมุทร มีทิวเขาสูงทอดยาวจากเหนือจรดใต มีทะเล

               ขนาบทั้ง 2 ดาน ทิวเขาที่สําคัญ คือ ทิวเขาภูเก็ต ทิวเขานครศรีธรรมราชและทิวเขาสันกาลาคีรี และมีแมน้ํา
               ตาปซึ่งเปนแมน้ําที่ยาวและมีขนาดใหญที่สุดของภาคใต ที่เหลือจะเปนแมน้ําสายเล็กๆ และสั้น เชน แมน้ํา

               ปตตานี แมน้ําสายบุรี และแมน้ําโก-ลก มีชายฝงทะเลทั้งทางดานอาวไทย ซึ่งมีลักษณะเปนชายฝงแบบยกตัว

               เปนที่ราบชายฝงที่เกิดจากคลื่นพัดพาทรายมาทับถม จนกระทั่งกลายเปนหาดทรายที่สวยงาม และมีชายฝงทะเล
               ดานทะเลอันดามันที่มีลักษณะเวาแหวงเพราะเปนฝงทะเลที่จมน้ําและมีปาชายเลนขึ้นอยางหนาแนน
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47