Page 44 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 44

36


                          3) กลุมนิกรอยด  เปนพวกผิวดํา ไดแก ชาวพื้นเมืองภาคใตของอินเดีย พวกเงาะซาไก มีรูปราง

               เล็ก ผมหยิก นอกจากนี้ยังอยูในศรีลังกาและหมูเกาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต
                          4) กลุมโพลิเนเซียน เปนพวกผิวสีคล้ํา อาศัยอยูตามหมูเกาะแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต ไดแก

               ชนพื้นเมืองในหมูเกาะของประเทศอินโดนีเซีย

                          ประชากรของทวีปเอเชียจะกระจายตัวอยูตามพื้นที่ตาง ๆ ซึ่งขึ้นอยูกับความอุดมสมบูรณของพื้นที่
               ความเจริญทางดานวิชาการในการนําเทคโนโลยีมาใชกับทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดและ

               ทําเลที่ตั้งของเมืองที่เปนศูนยกลาง สวนใหญจะอยูกันหนาแนนบริเวณตามที่ราบลุมแมน้ําใหญ ๆ ซึ่งที่ดิน
               อุดมสมบูรณ พื้นที่เปนที่ราบเหมาะแกการปลูกขาวเจา เขตประชากรที่อยูกันหนาแนน แบงไดเปน 3 ลักษณะ คือ

                          1. เขตหนาแนนมาก ไดแก ที่ราบลุมแมน้ําฮวงโห แมน้ําแยงซีเกียง ชายฝงตะวันออก ของจีน
               ไตหวัน ปากแมน้ําแดง (ในเวียดนาม) ที่ราบลุมแมน้ําคงคา (อินเดีย) ลุมแมน้ําพรหมบุตร (บังคลาเทศ) ภาคใต

               ของเกาะฮอนชู เกาะคิวชู เกาะซิโกกุ (ในญี่ปุน) เกาะชวา (ในอินโดนีเซีย)

                          2. เขตหนาแนนปานกลาง ไดแก เกาหลี ภาคเหนือของหมูเกาะญี่ปุน ที่ราบดินดอนสามเหลี่ยม
               ปากแมน้ําโขงในเวียดนาม  ที่ราบลุมแมน้ําเจาพระยา  ที่ราบปากแมน้ําอิระวดีในพมา  คาบสมุทรเดคคาน

               ในอินเดีย ลุมแมน้ําไทกริส-ยูเฟรตีสในอิรัก

                          3. เขตบางเบามาก ไดแก เขตไซบีเรียในรัสเซีย ทะเลทรายโกบีในมองโกเลีย แควนซินเกียงของจีน
               ที่ราบสูงทิเบต ทะเลทรายในคาบสมุทรอาหรับ ซึ่งบริเวณแถบนี้จะมีอากาศหนาวเย็นแหงแลงและทุรกันดาร

                       ลักษณะการตั้งถิ่นฐาน

                       ประชากรสวนใหญ อาศัยอยูหนาแนนบริเวณชายฝงทะเลและที่ราบลุมแมน้ําตาง ๆ เชน ลุมแมน้ํา
               เจาพระยา ลุมแมน้ําแยงซีเกียง ลุมแมน้ําแดงและลุมแมน้ําคงคา และในเกาะบางเกาะที่มีดินอุดมสมบูรณ เชน

               เกาะของประเทศฟลิปปนส อินโดนีเซียและญี่ปุน สวนบริเวณที่มีประชากรเบาบาง จะเปนบริเวณที่แหงแลง
               กันดาร หนาวเย็นและในบริเวณที่เปนภูเขาซับซอน ซึ่งสวนใหญจะเปนบริเวณกลางทวีป มีเพียงสวนนอย

               ที่อาศัยอยูในเมือง เมืองที่มีประชากรอาศัยเปนจํานวนมาก ไดแก โตเกียว บอมเบย กัลกัตตา โซล มะนิลา

               เซียงไฮ โยะโกะฮะมะ เตหะราน กรุงเทพมหานคร เปนตน
                       ลักษณะทางเศรษฐกิจ  ประชากรของทวีปเอเชียประกอบอาชีพที่ตางกันขึ้นอยูกับสภาพแวดลอม

               ทางธรรมชาติ ไดแก ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ ทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดลอมทางวัฒนธรรม ไดแก
               ความเจริญในดานวิชาการ เทคโนโลยี การปกครองและขนบธรรมเนียมประเพณี แบงได 3 กลุมใหญ ๆ คือ

                          1) เกษตรกรรม

                              การเพาะปลูก  นับเปนอาชีพที่สําคัญในเขตมรสุมเอเชีย  ไดแก  เอเชียตะวันออก  เอเชีย
               ตะวันออกเฉียงใตและเอเชียใต ทําการเพาะปลูกประมาณรอยละ 70 - 75 % ของประชากรทั้งหมด เนื่องจาก

               ทวีปเอเชียมีภูมิประเทศเปนที่ราบลุมแมน้ําอันกวางใหญหลายแหง มีที่ราบชายฝงทะเล มีภูมิอากาศที่อบอุน

               มีความชื้นเพียงพอ นอกจากนี้ยังมีการนําเทคโนโลยีที่ทันสมัยเขามาชวย หลายประเทศกลายเปนแหลงอาหาร
               ที่สําคัญของโลก จะทําในที่ราบลุมของแมน้ําตาง ๆ พืชที่สําคัญ ไดแก ขาว ยางพารา ปาลม ปาน ปอ ฝาย ชา

               กาแฟ ขาวโพด สม มันสําปะหลัง มะพราว
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49