Page 36 - E-Book รายงานสรุปผลการประชุม
P. 36
รายงานสรุปผล การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อนำาเสนอความก้าวหน้าด้านการคุ้มครองทางสังคม การแลกเปลี่ยนแนวปฏิบัติ
และกลยุทธ์ที่ดี เพื่อผลักดันให้มีการจัดสรรทรัพยากรด้านการเงินภายในประเทศด้านการคุ้มครองทางสังคมเพิ่มมากขึ้น
กลยุทธ์ วิธีการ ตัวชี้วัด ผู้รับผิดชอบ แหล่งงบประมาณ
๑. การจัดตั้งกองทุน ๑. ตั้งกองทุนประกันชีวิต ๑. มีแนวทางในการ ทุกกระทรวง ทุกภาคส่วน
ประกันชีวิต สำาหรับผู้พิการ, ผู้สูงอายุ จัดสวัสดิการ ที่เกี่ยวข้อง ที่เกี่ยวข้อง
๒. ปรับปรุง ๒. จัดสรรสิทธิประโยชน์ใน ด้านสุขภาพ ทั้งภาครัฐ เอกชน
หลักเกณฑ์สิทธิ กองทุนประกันสุขภาพต่าง ๆ ที่ครอบคลุมทุก
ประโยชน์จาก ให้มีมาตรฐานเดียวกัน เช่น กลุ่มประชากร
กองทุนประกัน การทำาฟัน ไม่ระบุ 2 ครั้ง/ปี และมีมาตรฐาน
สุขภาพต่าง ๆ ๓. เมื่อมีการเคลื่อนย้ายแรงงาน เดียวกัน
ให้มีมาตรฐาน แรงงานสามารถใช้สิทธินอก ๒.มีกฎหมายรองรับ
เดียวกัน การจัดสวัสดิการ
พื้นที่ซึ่งระบุในบัตรประกัน
สุขภาพถ้วนหน้าได้ ด้านสุขภาพ
ทุกกลุ่มประชากร
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
๑. กลุ่มประชากร ทั้งแรงงานในระบบ นอกระบบ, คนพิการ, คนเร่ร่อน ผู้ใช้ชีวิตในพื้นที่สาธารณะ,
ผู้สูงอายุ ในบางหน่วยงานของภาครัฐ มูลนิธิ เอกชน มีโมเดลการดูแลสุขภาพที่ดีแต่ไม่ได้นำามาเผยแพร่ หน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องควรให้การสนับสนุนร่วม เกิดเครือข่ายประสานความร่วมมือ เพื่อให้ประชากรได้รับการคุ้มครอง
ทางสังคมด้านสุขภาพ เช่น สนามหลวงโมเดล เป็นต้น เพื่อให้เกิดความต่อเนื่อง ยั่งยืน
๒. การเพิ่มจำานวนบุคลากรผู้ที่ให้การดูแลสุขภาพ (มิใช่พยาบาล) กับกลุ่มประชากรต่าง ๆ เช่น ผู้สูงอายุ
ผู้พิการ เป็นต้น ซึ่งมีกำาลังทรัพย์ในการจ่าย โดยผลิตบุคลากรเหล่านี้จากหน่วยงานภาครัฐ เอกชนเพื่อให้มีบุคลากร
เหล่านี้ เพิ่มมากขึ้นในการให้การดูแลสุขภาพ
๓. มีคลินิกเฉพาะสำาหรับการรักษาสุขภาพของผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการทำางาน
ข้อสังเกตจากวิทยากรกลุ่ม
๑. ผู้ที่เข้าร่วมครั้งนี้ มีจำานวน ๔ คน ซึ่งแต่ละคนมิได้มีหน้าที่เกี่ยวข้องโดยตรง แต่มีประสบการณ์ร่วม
และเป็นผู้ที่อุทิศตนในการเข้าร่วมการถอดบทเรียนเพื่อให้เกิดการคุ้มครองทางสังคมด้านสุขภาพ ซึ่งแต่ละคน
ได้แสดงความคิดเห็นเท่าที่ตนเองมีความรู้และความเข้าใจ จึงอาจมีข้อจำากัดด้านมุมมองต่อการแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็น ที่ขาดมุมมองในมิติผู้ให้บริการด้านสุขภาพโดยตรง
๒. การมีปฏิสัมพันธ์กันในกลุ่ม พบว่า สมาชิกกลุ่มมีเข้าใจการทำางานของหน่วยงานภาครัฐซึ่งเกี่ยวข้อง
กับสุขภาพเพียงผิวเผิน เนื่องจากองค์ประกอบของกลุ่มไม่มีบุคลากรทางสาธารณสุขเข้าร่วมประชุม จึงไม่สามารถ
ให้ความกระจ่างด้านการคุ้มครองทางสังคมด้านสุขภาพ ทั้งด้านสิทธิประโยชน์ และบทบาทหน้าที่ตลอดจน
ความก้าวหน้าทางด้านสุขภาพได้ ประกอบกับข้อจำากัดด้านระยะเวลาในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จึงทำาให้
การวางแผนในอนาคตในเรื่องการคุ้มครองด้านสุขภาพทำาได้ไม่สมบูรณ์
34