Page 6 - GMI Annual Report 2018_Book
P. 6

GMI Annual Report 2018



              ข้อมูลทั่วไป

            ประวัติความเป็ นมา
                                                                ปี   พ . ศ . 2547  GMI  เ ปิ ด ส อ น ห ลั ก สูต ร
            บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม
                                                                บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการ
            (Graduate School of Management and Innovation:
                                                                โทรคมนาคมและบรอดคาสติ้ง และสาขาการ
            GMI) แห่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
                                                                จัดการส าหรับเป็ นผู้ประกอบการ เนื่องจาก
            ธนบุรี ได้ถูกจัดตั้งขึ้ นเมื่อปี  พ.ศ. 2545
                                                                ผู้บริหารของคณะได้ทราบถึงแนวโน้มของการพัฒนา
            จากการที่มหาวิทยาลัยต้องการผลักดันการสร้าง
                                                                แผนแม่บททางโทรคมนาคมของประเทศประกอบกับ
            ความเข้มแข็งด้านการบริหารจัดการ (Management
                                                                กระแสการขยายตัวของตลาดที่มีผู้ที่สนใจน าองค์
            Strengthening)   ซึ่งถือว่าเป็ นหนึ่งในเป้ าหมายเชิง
                                                                ความรู้ในศาสตร์ทางด้านวิศวกรรม  หรือ
            กลยุทธ์ที่ส าคัญของมหาวิทยาลัย ในโครงการ 6+1        วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปต่อยอดในการท าธุรกิจ
            Flagships โดยเริ่มต้นจากการพัฒนาทรัพยากรบุคคล       ของตนเอง GMI จึงได้เสนอมหาวิทยาลัยเปิดหลักสูตร
            และเครือข่ายของมหาวิทยาลัย บนฐานของศาสตร์ที่        ดังกล่าว และถือว่าเป็ นการเสริมจุดแข็งของ
            เป็นจุดแข็งของมหาวิทยาลัย  ได้แก่ วิศวกรรมศาสตร์    ทรัพยากรบุคคลของประเทศในการขับเคลื่อน

            วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยมีปณิธานในการ            เศรษฐกิจผ่านการจัดการวิสาหกิจขนาดกลางและ
                                                                ขนาดย่อม (SMEs)
            สร้างสรรค์ทรัพยากรบุคคลที่พรั่งพร้อมด้วยทักษะ

            ของการเป็นนักบริหารจัดการสมัยใหม่
                                                                ปี  พ.ศ.2553 GMI ได้ปรับปรุงหลักสูตรใหม่
            บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม (GMI)            โดยการทบทวนถึงจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และ
            จึงมีพันธกิจส าคัญในการให้บริการองค์ความรู้         ภัยคุกคามต่างๆ ประกอบกับเสียงสะท้อนจาก
            ทางด้านบริหารจัดการผ่านการเรียนการสอน การ           ผู้ทรงคุณวุฒิทางวิชาการและภาคอุตสาหกรรม
            วิจัย และการบริการวิชาการ แก่ผู้สนใจเรียนในระดับ     รวมไปถึงผู้ใช้บัณฑิต ศิษย์เก่าและนักศึกษาปัจจุบันใน
            ปริญญาโท และบุคคลหรือองค์กรทั้งภายในและ             ขณะนั้นที่ต้องการให้เปิดสาขาวิชาเฉพาะทางมากขึ้น
            ภายนอก ที่ต้องการค าปรึกษา และความช่วยเหลือ         โดยบูรณาการเข้ากับศาสตร์ด้านบริหารจัดการ
            ในด้านบริหารจัดการในมิติต่างๆ                       การปรับปรุงหลักสูตรใหม่จึงมี 4 หลักสูตร โดยที่
                                                                ยังคง 2 หลักสูตรเดิมไว้ ได้แก่
            ด้วยวิสัยทัศน์ของผู้บริหารมหาวิทยาลัยที่ต้องการ       หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการ
            สร้างหลักสูตรด้านบริหารจัดการที่แตกต่างจาก
                                                                    จัดการโลจิสติกส์ ซึ่งเป็นศาสตร์การจัดการเฉพาะ
            สถาบันอื่น และเล็งเห็นแนวโน้มของการพัฒนา
                                                                    ทางที่มีความต้องการแรงงานเป็นจ านวนมาก
            ประเทศที่ต้องอาศัยการบริหารจัดการโครงสร้าง
                                                                  หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการ
            พื้นฐาน ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการขนส่ง
                                                                    จัดการส าหรับการเป็ นผู้ประกอบการ ซึ่งเป็ น
            สินค้าในระบบโลจิสติกส์ การก่อตั้ง GMI ในช่วง 2 ปี
                                                                    ศาสตร์ที่นิยมของตลาดเป็นอย่างมาก อีกทั้งยังมี
            แรก จึงเปิดเฉพาะหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
                                                                    เนื้อหาทั้งเชิงลึกและเชิงกว้างในด้านการจัดการ
            ซึ่งมีสาขาทั้งหมด 3 สาขา ได้แก่ สาขาการจัดการ
            โลจิสติกส์  สาขาการบริหารโครงการ และสาขา                ส าหรับการเป็นผู้ประกอบการ
            การจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม โดยมีกลุ่มผู้สนใจ     ส าหรับหลักสูตรใหม่ 2 หลักสูตร ได้แก่
            หลักคือ วิศวกร และผู้ที่ท างานในภาคการผลิตซึ่งจบ      หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขา
            ทางสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี                           การจัดการ
                                                                  หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขา

                                                                    การจัดการ
                                                                โดยทั้ง 2 หลักสูตรนี้ จะมีสาขาวิชาเอกเฉพาะทาง
                                                                ให้ผู้เรียนได้เลือกเรียน ดังนี้





                                                                                                                  1
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11