Page 13 - the best ebook ever_Neat
P. 13

13










                         2.2 การเกิดสปชีสใหมในเขต




             ภูมิศาสตรเดียวกัน                                                                                ตัวอยางของการพอลิพลอยดีของสิ่งมี






                         เปนการเกิดสปชีสใหมในถิ่นอาศัย                                                     ชีวิตตางสีปชีสกันคือการทดลองของ




             เดียวกับบรรพบุรุษ โดยมีกลไกมาปองกัน                                                              คารป เชงโก (Karpechenko)




             ทําใหไมสามารถผสมพันธุกันได





             แมวาจะอย ูในพื้นที่เดียวกันก็ตาม                                                               การเกิดพอลิพลอยดีในสิ่งมีชีวิต




             การเกิดสปชีสใหมลักษณะนี้เห็น ไดชัดเจน                                                         ตางสปชีสกัน คารป เชงโก




             ในวิวัฒนาการของพืช เชน การเกิดพอลิ-                                                              นักพันธุศาสตรชาวรัสเซียซึ่งไดพันธุ




             พลอยดีของ พืชโดยการเพิ่มจํานวนชุดของ                                                              ผักกาดแดงซึ่งมีจํานวนโครโมโซม 18




             โครโมโซม                                                                                          โครโมโซม (2n=18) กับกะหลํ่าปลีซึ่งมี




                                                                                                               จํานวนโครโมโซม18โครโมโซม (2n=18)




                                                                                                               เทากันพบวาลูกผสมที่เกิดขึ้นในรุน F1 มี




                                                                                                               ขนาดใหญแข็งแรงแตไมสามารถผสม





                                                                                                               พันธุตอไปได แตลูกผสมในรุน F1 บางตน

             พอลิพลอยดีเกิดจากความผิดปกติของ                                                                   สามารถผสมพันธุกันและได




             กระบวนการแบงเซลลแบบไมโอซิสใน                                                                    ลูกผสมในรุน F2 ซึ่งโอกาสเกิดได





             การสรางเซลลสืบพันธุทําใหเซลลพืชมี                                                            นอยมากเมื่อนําลูกผสมในรุน F2 มาตรวจ




             จํานวนโครโมโซม 2 ชุด (2n) เมื่อเซลล                                                              ดูโครโมโซมพบวามีจํานวนโครโมโซม 36




             สืบพันธุนี้เกิดการปฏิสนธิจะได ไซโกตที่                                                          โครโมโซม(2n=36) และไมเปนหมัน




                  จํานวนโครโมโซมมากกวา2 ชุด เชน มี




                  โครโมโซม 3ชุด (3n) หรือมีโครโมโซม





                 4ชุด (4n) เปนตน การเกิดพอลิพลอยดี




               อาจเกิดจากสิ่งมีชีวิตสปชีสเดียวกัน




                                                 ดังภาพ
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18