Page 18 - the best ebook ever_Neat
P. 18

18

                                    มนุษยนีแอนเดอรทัส



                                                                                                                                     กําเนิดมนุษยปจจุบัน

                   ชีวิตอย ูเมือประมาณ 200,000 ถึง




            30,000 ปที่ผานมาจากหลักฐาน                                                                         นักบรรพชีวินและนักมนุษยวิทยาไดตั้ง


                                                                                                                 สมมติฐานของกําเนิดมนุษยในยุคปจจุบัน
            ซากดึกดําบรรพพบวามนุษยนีแอน                                                                       ออกเปน 2 แนวทาง คือ





            เดอรทัสมีสมองขนาดใหญเหมือนกับ




            มนุษยในปจจุบัน มีกะโหลกศีรษะทีแตก                                                                        สมมติฐานแรก  กลาววามนุษยใน




            ตางจากมนุษยในปจจุบัน คือ มีกระดูกคิ้ว                                                              ปจจุบันที่อาศัยอย ูตามบริเวณตางๆ ของ




            ยืนออกมา จมูกกวาง คางสั้น                                                                           โลก มีวิวัฒนาการมาจากH. erectus ที่




            นักมนุษยวิทยาไดจัดใหมนุษยนีแอนเ                                                                   แพรกระจายไปอาศัยอย ูตามที่ตางๆโดยมี





            ดอรทัสอย ูในสปชีสเดียว กับมนุษยใน                                                                วิวัฒนาการแบบขนานมาเปนมนุษยในยุค




            ปจจุบัน แตแยกเปนซับสปชีสคือ H.                                                                   ปจจุบัน แนวสมมติฐานนี้ไดอางถึงมนุษย




            sapiens neanderthalensis มนุษยนี                                                                     โบราณ เชน H.sapiens




            แอนเดอรทัส มีการอย ูรวมกันเปนหม ูมี                                                               neanderthalensis ที่ตั้งชื่อซับสปชีสตาม




            การลาสัตวรวมกัน ร ูจักใชไฟและใชหนัง                                                             บริเวณทีดํารงชีวิตอย ูนอกจากนี้มนุษยใน




            สัตวนุงหม เริ่มมีวัฒนธรรมการฝงศพที่                                                               ปจจุบันที่อาศัยอย ูในบริเวณตางๆทั่วโลกยัง





            ตบแตงดวยดอกไมและ ฝงศพพรอมกับ                                                                     มีลักษณะทางพันธุกรรมที่เหมือนกัน




            เครื่องมือเครื่องไม นอกจากนี้ยังคนพบ                                                                เนื่องจากสามารถแลกเปลี่ยนยีนระหวางกัน




            ซากกะโหลกหมีกองใหญในถํ้า อาจเปนไป                                                                   ได ทําใหไมมีความแตกตางกันจนเกิดเปน




            ไดวาสัตวเหลานี้เปนสวนหนึ่งของพิธีกรรม                                                           สปชีสใหม




            ทางศาสนา มนุษยนีแอนเดอรทัสอาศัย                                                                           สมมติฐานที่สอง  กลาววามนุษยใน





            อย ูรวมกันเปนชุมชนทั้งในถํ้าในที่ราบและ                                                            ปจจุบันมีวิวัฒนาการครั้งที่สอง




            หุบเขา พบกระจายในบริเวณตางๆ กวาง                                                                    โดย H. erectus ที่แพรกระจายไปอาศัย




            ขวางมาก ตังแตยุโรป ตะวันออกกลาง                                                                     ตามบริเวณตางๆไดสูญพันธุไปหมดเหลือ




            แอฟริกาไป จนถึงประเทศจีน
                                                                                                                  เพียง H. erectus ในแอฟริกาเทานั้นที่มี





                                                                                                                  วิวัฒนาการเปน H. sapiens จากสมมติฐาน




                                                                                                                  นี้แสดงวามนุษยในยุคปจจุบันมีกําเนิดมา




                                                                                                                  จากบรรพบุรุษเดียวH. sapiens ที่ไดอพยพ




                                                                                                                  ออกจากแอฟริกาเมื่อประมาณ 1 แสนป
   13   14   15   16   17   18   19   20   21