Page 27 - 18_การปฏบตตอเดก เยาวชน สตร_Neat
P. 27

๑๘




                               พระราชบัญญัติคุมครองเด็กฯ ไดกําหนดอํานาจและหนาที่ใหแกพนักงานเจาหนาที่
              เพื่อประโยชนในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ ไวเปนพิเศษในมาตรา ๓๐ กลาวคือ

                               พนักงานเจาหนาที่ตามพระราชบัญญัติคุมครองเด็ก มีอํานาจหนาที่ดังนี้
                               (๑)  เขาไปในเคหสถาน สถานที่ใดๆ หรือยานพาหนะใดๆ ในระหวางเวลาพระอาทิตยขึ้น
              ถึงพระอาทิตยตกเพื่อตรวจคน ในกรณีมีเหตุอันควรสงสัยวามีการกระทําทารุณกรรมเด็ก มีการ

              กักขังหรือเลี้ยงดูโดยมิชอบ แตในกรณีมีเหตุอันควรเชื่อวาหากไมดําเนินการในทันที เด็กอาจไดรับ
              อันตรายแกรางกายหรือจิตใจ หรือถูกนําพาไปสถานที่อื่นซึ่งยากแกการติดตามชวยเหลือ ก็ใหมีอํานาจ

              เขาไปในเวลาภายหลังพระอาทิตยตกได
                               (๒)  ซักถามเด็กเมื่อมีเหตุอันควรสงสัยวาเด็กจําตองไดรับการสงเคราะหหรือ

              คุมครองสวัสดิภาพ ในกรณีจําเปนเพื่อประโยชนแกการสงเคราะหและคุมครองสวัสดิภาพเด็ก อาจนํา
              ตัวเด็กไปยังที่ทําการของพนักงานเจาหนาที่ เพื่อทราบขอมูลเกี่ยวกับเด็กและครอบครัว รวมทั้งบุคคลที่

              เด็กอาศัยอยู ทั้งนี้จะตองกระทําโดยมิชักชา แตไมวากรณีใดจะกักตัวเด็กไวนานเกินกวาสิบสองชั่วโมง
              ไมได เมื่อพนระยะเวลาดังกลาวใหปฏิบัติตาม (๖) ระหวางที่เด็กอยูในความดูแลจะตองใหการอุปการะ
              เลี้ยงดู และหากเจ็บปวยจะตองใหการรักษาพยาบาล

                               (๓)  มีหนังสือเรียกผูปกครอง หรือบุคคลอื่นใดมาใหถอยคําหรือขอเท็จจริงเกี่ยวกับ
              สภาพความเปนอยู ความประพฤติ สุขภาพ และความสัมพันธในครอบครัวของเด็ก

                               (๔)  ออกคําสั่งเปนหนังสือใหผูปกครองของเด็ก นายจางหรือผูประกอบการ เจาของ
              หรือผูครอบครองสถานที่ที่เด็กทํางานหรือเคยทํางาน อาศัยหรือเคยอาศัยอยู เจาของหรือผูครอบครอง

              หรือผูดูแลสถานศึกษาที่เด็กกําลังศึกษาหรือเคยศึกษา หรือผูปกครองสวัสดิภาพ สงเอกสาร
              หรือหลักฐานเกี่ยวกับสภาพความเปนอยู การศึกษา การทํางาน หรือความประพฤติของเด็กมาให

                               (๕)  เขาไปในสถานที่อยูอาศัยของผูปกครอง สถานที่ประกอบการของนายจาง
              ของเด็ก สถานศึกษาของเด็ก หรือสถานที่ที่เด็กมีความเกี่ยวของดวย ในระหวางเวลาพระอาทิตยขึ้น
              ถึงพระอาทิตยตกเพื่อสอบถามบุคคลที่อยูในที่นั้น ๆ และรวบรวมขอมูลหรือหลักฐานเกี่ยวกับสภาพ

              ความเปนอยู ความสัมพันธในครอบครัว การเลี้ยงดู อุปนิสัย และความประพฤติของเด็ก
                               (๖)  มอบตัวเด็กใหแกผูปกครองพรอมกับแนะนําหรือตักเตือนผูปกครองใหดูแล

              และอุปการะเลี้ยงดูเด็กในทางที่ถูกตอง เพื่อใหเด็กไดรับการพัฒนาในทางที่เหมาะสม
                               (๗)  ทํารายงานเกี่ยวกับตัวเด็กเพื่อมอบใหแกสถานแรกรับในกรณีมีการสงเด็ก
              ไปยังสถานแรกรับหรือหนวยงานที่เกี่ยวของเมื่อมีการรองขอ

                               อยางไรก็ตาม กรณีที่พนักงานเจาหนาที่จะเขาไปในเคหสถานใดๆ หรือยานพาหนะ
              ใดๆ  ตาม (๑) ซักถามเด็กเมื่อมีเหตุอันควรสงสัยตาม (๒) และเขาไปในสถานที่อยูอาศัยของผูปกครอง

              ตาม (๕) พนักงานเจาหนาที่ตองแสดงบัตรประจําตัวกอนและใหบุคคลที่เกี่ยวของอํานวยความสะดวก
              ตามสมควร (มาตรา ๓๐ วรรคสาม) หากผูใดขัดขวางไมใหพนักงานเจาหนาที่ปฏิบัติงานตองไดระวางโทษ

              จําคุกไมเกิน ๑ เดือน หรือปรับไมเกิน ๑๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ (มาตรา ๘๐)
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32