Page 33 - 18_การปฏบตตอเดก เยาวชน สตร_Neat
P. 33

๒๔




                          ô) ¡Òä،Á¤ÃͧÊÔ·¸Ôà´ç¡áÅÐàÂÒǪ¹μÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞÑμÔÈÒÅàÂÒǪ¹áÅФÃͺ¤ÃÑÇ
              áÅÐÇÔ¸Õ¾Ô¨ÒóҤ´ÕàÂÒǪ¹áÅФÃͺ¤ÃÑÇÏ

                               (๑)  การพิจารณาออกหมายจับ หากการออกหมายจับมีผลกระทบกระเทือน
              ตอจิตใจของเด็กหรือเยาวชนนั้นอยางรุนแรงโดยไมจําเปน ใหศาลพยายามหลีกเลีี่ยงการออกหมายจับ
              โดยใชวิธีการติดตามตัวเด็กหรือเยาวชนนั้นดวยวิธีอื่นกอน (มาตรา ๖๗)

                               (๒)  การจับและควบคุมตัวเด็กหรือเยาวชน ตองกระทําดวยความละมุนละมอม
              โดยคํานึงถึงศักดิ์ศรีความเปนมนุษยและไมเปนการประจานเด็กหรือเยาวชน (มาตรา ๖๙ วรรค ๓)

                               (๓)  หามมิใหควบคุม คุมขัง กักขัง คุมความประพฤติหรือใชมาตรการอันมีลักษณะ
              เปนการจํากัดสิทธิเสรีภาพเด็กหรือเยาวชน ซึ่งตองหาวากระทําความผิดหรือเปนจําเลย เวนแตมีหมาย

              หรือคําสั่งศาลหรือเปนกรณีการควบคุมเทาที่จําเปน เพื่อดําเนินการซักถาม แจงขอกลาวหา แจงสิทธิ
              ตามกฎหมายหรือตรวจสอบการจับกุมตามมาตรา ๖๙ ๗๐ ๗๒ (มาตรา ๖๘) หามควบคุม

              เด็กหรือเยาวชนที่ถูกกลาวหา ปะปนกับผูใหญ และหามควบคุมตัวเด็กหรือเยาวชนนั้นไวในหองขัง
              ที่จัดไวสําหรับผูตองหาที่เปนผูใหญ (มาตรา ๑๒๙)

                               (๔)  หามมิใหใชวิธีการควบคุมเกินกวาที่จําเปนเพื่อปองกันการหลบหนี เพื่อความ
              ปลอดภัยของเด็กหรือเยาวชนนั้น ผูถูกจับหรือบุคคลอื่น และมิใหใชเครื่องพันธนาการแกเด็กไมวากรณี

              ใดๆ เวนแตมีความจําเปนอยางยิ่งอันมิอาจหลีกเลี่ยงได เพื่อปองกันการหลบหนีหรือเพื่อความปลอดภัย
              ของเด็กผูถูกจับหรือบุคคลอื่น (มาตรา ๖๙ วรรคสาม และมาตรา ๑๐๓)

                               (๕)  ใหศาลแตงตั้งที่ปรึกษากฎหมาย หากเด็กหรือเยาวชนไมมีที่ปรึกษากฎหมาย
              (มาตรา ๗๓ และมาตรา ๑๒๐)

                               (๖)  การพิจารณาคดีอาญาที่เด็กหรือเยาวชนเปนจําเลย ตองกระทําในหองที่
              มิใชหองพิจารณาคดีธรรมดา แตถาไมอยูในวิสัยที่จะกระทําได จะตองไมปะปนกับการพิจารณาคดี
              ธรรมดา และเฉพาะบุคคลที่เกี่ยวของกับกรณีเทานั้นที่จะมีสิทธิเขาฟงการพิจารณา (มาตรา ๑๐๗ และ

              มาตรา ๑๐๘)

                               (๗)  การพิจารณาคดีอาญาที่เด็กหรือเยาวชนเปนจําเลย ใหใชถอยคําที่จําเลย
              สามารถเขาใจงาย กับตองใหโอกาสจําเลย บิดา มารดา ผูปกครองหรือบุคคลที่จําเลยอาศัยอยูดวย
              หรือบุคคลที่เกี่ยวของ แถลงขอเท็จจริง ความรูสึก และแสดงความคิดเห็น ตลอดจนระบุและซักถาม

              พยานได ไมวาในเวลาใดๆ ระหวางที่มีการพิจารณาคดีนั้น การพิจารณาคดีอาญานี้ไมจําตองดําเนินการ
              ตามกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาโดยเครงครัด (มาตรา ๑๑๔)

                               (๘)  แมวามีคําพิพากษาหรือคําสั่งลงโทษหรือใชวิธีการสําหรับเด็กและเยาวชน
              แลวก็ตาม หากตอมาขอเท็จจริงหรือพฤติการณที่ศาลใชในการพิจารณาคดีเปลี่ยนแปลงไป เมื่อมีเหตุ

              อันสมควร ศาลที่พิจารณาคดีนั้นก็มีอํานาจแกไขเปลี่ยนแปลงคําพิพากษา หรือคําสั่ง หรือวิธีการสําหรับ
              เด็กและเยาวชนได
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38