Page 38 - 18_การปฏบตตอเดก เยาวชน สตร_Neat
P. 38
๒๙
º··Õè ó
á¹Ç·Ò§»¯ÔºÑμԢͧ਌Ҿ¹Ñ¡§Ò¹ตําÃǨ
ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤
๑. เพื่อสรางความเขาใจในแนวทางการปฏิบัติหนาที่ตามกฎหมายและอํานาจหนาที่
ของเจาพนักงานตํารวจ
๑.๑ การออกหมายจับเด็กหรือเยาวชน
๑.๒ การจับกุมเด็ก หรือเยาวชน
๑.๓ การเขียนบันทึกการจับกุมเด็กหรือเยาวชน
๑.๔ การตรวจสอบการจับเด็กหรือเยาวชน ตามจุดประสงคที่พระราชบัญญัติศาล
เยาวชนและครอบครัวฯ กําหนดศาลทําการตรวจสอบการจับ
๑.๕ การปฏิบัติของเจาพนักงานตํารวจในการคน
๑.๖ การปฏิบัติในการจดบันทึกคํารองทุกขในคดีที่ผูเสียหายเปนเด็กหรือเยาวชน
º·นํา
เจาพนักงานตํารวจตองสรางความเขาใจในการปฏิบัติงานวา เด็กมีความสําคัญตอ
การพัฒนาประเทศ รัฐจึงจําเปนตองคุมครองดูแลเด็ก ขณะเดียวกันหากเด็กพลาดพลั้ง ไปกระทํา
ความผิดดวยเพราะเหตุที่ออนดอยประสบการณ ขาดความยั้งคิดหรือดวยเหตุใดก็ตาม เพื่อใหเด็ก
เหลานั้นไดมีโอกาสกลับตัวเปนคนดีของสังคมในอนาคต ซึ่งจําเปนที่จะตองมีวิธีดําเนินการเกี่ยวกับเด็ก
เปนการเฉพาะ เพื่อใหสอดคลองกับหลักสากล
¡ÒÃÍÍ¡ËÁÒ¨Ѻà´ç¡ËÃ×ÍàÂÒǪ¹
การพิจารณาออกหมายจับเด็กหรือเยาวชน ซึ่งตองหาวากระทําความผิดนั้น จะตองอยู
ภายใตหลักเกณฑ ดังนี้
๑) จะตองอยูภายใตหลักเกณฑของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา ๖๖ กลาวคือ
(๑) เมื่อมีหลักฐานตามสมควรวาบุคคลใดนาจะไดกระทําความผิดอาญา ซึ่งมีอัตรา
โทษจําคุกอยางสูงเกิน ๓ ป หรือ
(๒) เมื่อมีหลักฐานตามสมควรวาบุคคลใดนาจะไดกระทําความผิดอาญาและมีเหตุ
อันควรเชื่อวาจะหลบหนีหรือจะไมยุงเหยิงกับพยานหลักฐาน หรือกอเหตุอันตรายประการนั้น
ถาบุคคลนั้นไมมีที่อยูเปนหลักแหลง หรือไมมาตามหมายเรียก หรือตามนัด
โดยไมมีขอแกตัวอันควร ใหสันนิษฐานวาบุคคลนั้นจะหลบหนี