Page 40 - 18_การปฏบตตอเดก เยาวชน สตร_Neat
P. 40

๓๑




                  ขอสังเกต
                        กรณี “à´ç¡” คําวา กระทําซึ่งหนา มีความหมายวา กระทําผิดตอหนาผูจับ ดังนั้น หากเด็กกระทําความผิดซึ่งหนาตอผูเสียหาย แมผูเสียหาย
                  จะชี้ตัวและยืนยันใหจับ ก็ไมอาจจับเด็กนั้นได แมวา พ.ร.บ.จัดตั้งศาลเยาวชนฯ พ.ศ.๒๕๓๔ มาตรา ๔๙ จะอนุญาตใหจับได กรณีที่ผูเสียหาย
                  ชี้ตัวยืนยันใหจับ โดยแจงวามีการรองทุกขแลว แตเนื่องจาก พ.ร.บ.จัดตั้งศาลเยาวชนฯ ไดถูกยกเลิก โดย พ.ร.บ.ศาลเยาวชนและครอบครัวฯ
                  พ.ศ.๒๕๕๓ และ พ.ร.บ.ศาลเยาวชนและครอบครัวฯ ฉบับนี้ ก็ไมไดระบุกรณีการจับกรณีนี้ไว ดวยเหตุผล เพื่อใหเด็กไดรับ
                  ความคุมครองมากขึ้น (ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดศรีสะเกษ, ๒๕๕๔)

                             กรณี “àÂÒǪ¹” ยังคงใชหลักการเดิม ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

                 มาตรา ๖๖


                 á¹Ç·Ò§»¯ÔºÑμԢͧ਌Ҿ¹Ñ¡§Ò¹ตําÃǨ㹡ÒèѺ¡ØÁà´ç¡ËÃ×ÍàÂÒǪ¹

                             เพื่อสรางความเขาใจในการปฏิบัติงานของเจาพนักงานตํารวจในการจับกุมเด็ก หรือ

                 เยาวชนนั้น จึงขอสรุปสาระสําคัญที่กําหนดไวในกฎหมายเปนขอๆ ดังตอไปนี้
                             ๑.  ในการจับกุมเด็กหรือเยาวชนนั้น เจาพนักงานตํารวจผูทําการจับกุมจะตอง

                                  - แจงใหเด็กหรือเยาวชนนั้นวา เขาถูกจับ และ
                                  - แจงขอกลาวหา รวมทั้ง สิทธิตามกฎหมาย เชน มีที่ปรึกษากฎหมายรวมในการ

                 สอบปากคํา เด็กหรือเยาวชนมีสิทธิที่จะใหการหรือไมใหการก็ได และถอยคํานั้นอาจใชเปนพยาน
                 หลักฐานในการพิจารณาคดีได โดยคํานึงถึงอายุ เพศ และสภาพจิตดวย (มาตรา ๗๕ วรรคสอง)

                                  - หากมีหมายจับ จะตองแสดงหมายจับใหกับเด็กหรือเยาวชนผูนั้นรับรูดวย
                                  - จากนั้นจะตองนําตัวเด็กหรือเยาวชนผูถูกจับไปยังที่ทําการของพนักงานสอบสวน
                 ทองที่ที่ถูกจับทันที

                                  หากพนักงานสอบสวนทองที่ที่ถูกจับนั้น มิใชเปนผูรับผิดชอบคดีก็ใหสงตัวเด็ก

                 หรือเยาวชนนั้นไปยังสถานที่ทําการของพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบโดยเร็ว
                                  (มาตรา ๖๙ วรรคแรก)
                             ๒.  แจงใหผูปกครอง ทราบถึงการจับเด็กหรือเยาวชน

                                  ๒.๑)  ขณะเจาพนักงานตํารวจจับกุมเด็กหรือเยาวชน ซึ่งตองหาวากระทําความผิดนั้น
                 มีผูปกครอง ซึ่งไดแก บิดา มารดา ผูปกครอง บุคคลหรือผูแทนองคกร ซึ่งเด็กหรือเยาวชนอาศัย

                 อยูดวย อยูดวยในขณะที่ทําการจับกุมนั้น ใหเจาพนักงานตํารวจผูจับกุม
                                         - แจงเหตุแหงการจับใหบุคคลดังกลาวทราบ และ

                                         - ในกรณีที่เปนความผิดอาญา ซึ่งมีอัตราโทษอยางสูงตามที่กฎหมายกําหนดไว
                 จําคุกไมเกิน ๕ ป เจาพนักงานตํารวจจับกุม จะสั่งใหบุคคลดังกลาวเปนผูนําตัวเด็กหรือเยาวชนนั้น

                 ไปยังที่ทําการของพนักงานสอบสวนแหงทองที่ที่ถูกจับก็ได
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45