Page 43 - 18_การปฏบตตอเดก เยาวชน สตร_Neat
P. 43
๓๔
๑) การตรวจสอบการจับเปนวิธีการพิทักษสิทธิเด็กและเยาวชนในเบื้องตนวาจะไมถูก
จับผิดคน การจับกุมและปฏิบัติของเจาพนักงานตองเปนไปโดยชอบดวยกฎหมาย โดยที่ผูพิพากษา
เปนผูตรวจสอบภายใน ๒๔ ชั่วโมง นับแตเวลาที่เด็กหรือเยาวชนไปถึงที่ทําการของพนักงานสอบสวน
ผูรับผิดชอบ
๒) เปนการสรางความเขาใจแกบิดา มารดาหรือผูปกครองของเด็ก และเยาวชน
หลังจากถูกจับมาแทบจะในทันที ทําใหบิดา มารดาหรือผูปกครองสามารถเขาไปดูแลบุตรหลาน
หรือบุคคลที่อยูในความปกครองของตนไดอยางรวดเร็ว
๓) เด็กหรือเยาวชน และผูปกครองมีโอกาสพบและปรึกษาที่ปรึกษากฎหมายตั้งแต
ชั้นตรวจสอบการจับ ซึ่งสามารถชวยเหลือใหคําแนะนํา ใหคําปรึกษาเพื่อคลี่คลายปญหาและ
ความกังวลใจตางๆ ได อีกทั้งยังสามารถชวยเหลือในชั้นผัดฟองตามมาตรา ๗๕ ในชั้นพิจารณา
ตามมาตรา ๑๒๐ และหากเปนการจับกุมโดยมิชอบดวยกฎหมายจริง ศาลจะมีคําสั่งใหปลอยตัวเด็ก
หรือเยาวชนไปในทันที
๔) การที่เด็กหรือเยาวชนไดมาอยูในอํานาจศาลเยาวชนและครอบครัวทันทีที่พนักงาน
สอบสวนสงตัวมานั้น ทําใหพวกเขามีโอกาสที่จะไดรับการมอบตัวใหแกผูปกครองไปดูแลระหวาง
การสอบสวนตามที่ศาลเห็นสมควร หรือไดรับการพิจารณาคํารองขอปลอยตัวชั่วคราวระหวาง
การสอบสวนไดในเวลาอันรวดเร็วและไมมีขั้นตอนยุงยาก
๕) เจาพนักงานตํารวจผูจับกุมไดรับการดูแลปกปองคุมครองจากขอกลาวหาวากลั่นแกลง
หรือปฏิบัติโดยมิชอบดวยกฎหมายในการจับกุม หรือไมแจงการจับกุมใหบิดา มารดาหรือผูปกครอง
ทราบ เพราะหากเกิดกรณีเชนนี้จริงเด็กหรือเยาวชนและผูปกครอง รวมถึงที่ปรึกษากฎหมายก็สามารถ
แถลงตอศาลเพื่อคัดคานการจับกุมและการปฏิบัติโดยมิชอบดังกลาวไดในทันที (คณะกรรมาธิการสังคม
กิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผูสูงอายุ คนผูพิการ และผูดอยโอกาส, ๒๕๕๔)
ขอสังเกต
๑. กรณีมีขอสงสัยเกี่ยวกับอายุเด็ก
พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวฯ มาตรา ๗๗ กําหนดวา ในระหวางการสอบสวน หากมีขอสงสัย
เกี่ยวกับอายุเด็กที่ถูกจับกุม หรือควบคุม ใหพนักงานสอบสวนมีอํานาจดําเนินการสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญาและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ แตหากปรากฏภายหลังวา บุคคลนั้นมีอายุไมเกินกวาอายุที่กําหนดไว ตามมาตรา ๗๓
แหงประมวลกฎหมายอาญาในขณะกระทําความผิด (ซึ่งหมายความวา ขณะกระทําความผิดนั้นอายุไมเกิน ๑๐ ป) และ
อยูในความควบคุมของสถานพินิจหรือองคกรอื่นใด ใหสถานพินิจหรือองคการดังกลาว รายงานใหศาลทราบเพื่อมีคําสั่งปลอยตัว
และใหพนักงานสอบสวนดําเนินการตามมาตรา ๖๙/๑ วรรคหนึ่ง กลาวคือ ถาความผิดที่เด็กกระทํานั้น เปนความผิดที่
กฎหมายบัญญัติใหอยูในอํานาจของพนักงานสอบสวนหรือเจาพนักงานอื่นที่จะเปรียบเทียบได หากเปนการกระทําครั้งแรก
ใหพนักงานสอบสวนหรือเจาพนักงานนั้น เรียกเด็ก บิดามารดา ผูปกครอง หรือบุคคล หรือผูแทนองคการซึ่งเด็กนั้นอาศัย
อยูดวย มาวากลาวตักเตือน ถาเด็กสํานึกในการกระทําและบิดามารดา ผูปกครอง หรือบุคคล หรือองคการซึ่งเด็กนั้นอาศัย
อยูดวย สามารถดูแลเด็กได ก็ใหงดการสอบสวนและปลอยตัวไป