Page 47 - 18_การปฏบตตอเดก เยาวชน สตร_Neat
P. 47

๓๘




                               ๘.  บันทึกการตรวจคนนั้นใหอานใหเจาของ หรือผูครอบครองสถานที่ บุคคล
              ในครอบครัว ผูตองหา จําเลย ผูแทน หรือพยาน แลวแตกรณีฟง แลวใหบุคคลเชนวานั้นลงลายมือชื่อ

              รับรองไวหากไมยินยอมใหบันทึกเหตุผลไว
                               (คําสั่งสํานักงานตํารวจแหงชาติ ที่ ๔๑๙/๒๕๕๖ ขอ ๒.๔)
                          ๓)  ¡Ò䌹ÂÒ¹¾Ò˹Ð
                               ในเรื่องการคนยานพาหนะ ไมมีกฎหมายระบุไววาจะตองปฏิบัติอยางไร แตไดมี

              คําพิพากษาศาลฎีกา ไดวางแนวทางไวดังนี้
                               รถไฟ จากคําพิพากษาฎีกาที่ ๒๐๒๔/๒๔๙๗ สถานที่บนขบวนรถไฟโดยสารเปนที่

              ซึ่งสาธารณชนมีความชอบธรรมที่จะเขาไปได การคนบุคคลใดในสถานที่ดังกลาวจึงไมจําตองมี
              หมายคน และไมอยูภายใต ป.วิ.อาญา มาตรา ๙๖ และไมตองปฏิบัติตามมาตรา ๑๐๒ วรรคหนึ่ง
                               รถยนต  กรณีที่รถยนตจอดหรือแลนอยูบนถนนหรืออยูในทางสาธารณะ
              จากคําพิพากษาฎีกาที่ ๓๗๕๑/๒๕๕๑ รถยนตที่กําลังแลนอยูบนถนนสาธารณะเปนยานพาหนะ

              เพื่อพาบุคคลหรือสิ่งของจากที่แหงหนึ่งไปยังที่อีกแหงหนึ่ง ไมถือวาเปนที่รโหฐาน เจาพนักงานตํารวจ
              ซึ่งมีอํานาจหนาที่ปองกันปราบปรามอาชญากรรม มีอํานาจตรวจคนรถยนตไดโดยไมตองมีคําสั่ง

              หรือหมายของศาล หากมีเหตุสงสัยวาในรถยนตมีสิ่งผิดกฎหมายซุกซอน ดังนั้น เมื่อเจาพนักงานตํารวจ
              กับพวกสงสัยวาในรถยนตที่มีผูขับขี่มามีสิ่งของผิดกฎหมายซุกซอนอยู เจาพนักงานตํารวจยอมมีอํานาจ
              คนรถยนตนั้นไดโดยไมตองมีคําสั่งหรือหมายของศาล


               ขอพึงระวัง
                     หากการคนที่ไมชอบดวยกฎหมาย เชน คนโดยไมมีหมายคนและไมเขาขอยกเวนตามกฎหมายที่จะคนไดโดยไมตองมีหมายคน
               ดังกลาวขางตนแลว การกระทําดังกลาวเปนเรื่องที่พนักงานเจาหนาที่จงใจกระทําผิดกฎหมาย ซึ่งเปนการละเมิด ดังนั้นจะตองใชคาสินไหม
               ทดแทนจากการกระทําดังกลาวตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๔๒๐ รวมทั้งใชราคาทรัพยสินและคาเสียหายอื่น ตามมาตรา ๔๓๘
               (คําพิพากษาฎีกาที่ ๖๓๐๑/๒๕๔๑)





              á¹Ç·Ò§»¯ÔºÑμÔ㹡Ò贺ѹ·Ö¡คําÌͧ·Ø¡¢ã¹¤´Õ·Õè¼ÙŒàÊÕÂËÒÂ໚¹à´ç¡ËÃ×ÍàÂÒǪ¹

                          ในกรณีที่ผูเสียหายเปนเด็กอายุไมเกิน ๑๘ ป นั้น ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
              มาตรา ๑๒๔/๑ บัญญัติวา “ใหนําบทบัญญัติในมาตรา ๑๓๓ ทวิ วรรคหนึ่ง วรรคสอง และวรรคสาม มาใชบังคับ
              โดยอนุโลมแกการจดบันทึกคํารองทุกขในคดีที่ผูเสียหายเปนเด็กอายุไมเกินสิบแปดป เวนแตมีเหตุจําเปน

              ไมอาจหาหรือรอนักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห บุคคลที่เด็กรองขอและพนักงานอัยการได และเด็ก
              ไมประสงคจะใหมีหรือรอบุคคลดังกลาวตอไป ทั้งนี้ ใหผูรับคํารองทุกข ตามมาตรา ๑๒๓ หรือมาตรา ๑๒๔

              แลวแตกรณี บันทึกเหตุดังกลาวไวในบันทึกคํารองทุกขดวย” จากมาตราดังกลาวที่ระบุใหการจดบันทึก
              รองทุกขคดีที่ผูเสียหายเปนเด็กอายุไมเกิน ๑๘ ป โดยนําหลักเกณฑที่กําหนดไวในมาตรา ๑๓๓ ทวิ
              มาบังคับใชโดยอนุโลม
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52