Page 44 - 18_การปฏบตตอเดก เยาวชน สตร_Neat
P. 44

๓๕




                            นอกจากนี้ ในกรณีเด็กอายุไมเกิน ๑๐ ป กระทําความผิดโดยความผิดนั้นกฎหมายบัญญัติใหอยูในอํานาจเปรียบเทียบ
                  ของพนักงานสอบสวน หรือเจาพนักงานอื่น หากเปนการกระทําครั้งแรก มาตรา ๖๙/๑ วรรคสอง ใหอํานาจพนักงานสอบสวน
                  หรือเจาพนักงานนั้น เรียกเด็ก บิดามารดา ผูปกครอง หรือบุคคล หรือผูแทนองคการ ซึ่งเด็กอาศัยอยูดวย มาวากลาวตักเตือน
                  ถาเด็กสํานึกในการกระทํา และบิดามารดา ผูปกครอง หรือบุคคล หรือองคการซึ่งเด็กนั้นอาศัยอยูดวย สามารถดูแล
                  เด็กได ก็ใหงดการสอบสวน และปลอยตัวไป เวนแตเด็กนั้นกระทําความผิดอื่นซึ่งมิใชความผิดที่สามารถเปรียบเทียบได
                  เชนนี้ พนักงานสอบสวนตองสงตัวเด็กที่อายุไมเกิน ๑๐ ปนั้นใหพนักงานเจาหนาที่ตามกฎหมายวาดวยการคุมครองเด็ก
                  เพื่อใหดําเนินการคุมครองสวัสดิภาพตามกฎหมายนั้น ในโอกาสแรกที่กระทําได แตตองภายในเวลาไมเกิน ๒๔ ชั่วโมง
                  นับแตเวลาที่เด็กนั้นมาถึงสถานที่ทําการของพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบ และจากมาตรา ๖๙/๑ วรรคทาย ยังกําหนด
                  หามมิใหผูเสียหายฟองเด็กอายุไมเกิน ๑๐ ป เปนคดีอาญาตอศาลใดดวย
                        ๒.  ในกรณีเด็กหรือเยาวชนอยูในเกณฑตองดําเนินการตามกฎหมายวาดวยการฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติด
                  ใหดําเนินการฟนฟูตามกฎหมายกอน แตหากไมอาจดําเนินการฟนฟูไดหรือทําการฟนฟูไมสําเร็จ ใหพนักงานสอบสวน
                  หรือพนักงานอัยการ นําตัวเด็กหรือเยาวชนไปศาล เพื่อใหศาลมีคําสั่งเกี่ยวกับการควบคุมตัว และพนักงานอัยการอาจฟองคดี
                  ภายในระยะเวลาที่กฎหมายกําหนด หรือภายใน ๓๐ วัน นับแตศาลมีคําสั่ง (มาตรา ๖๙/๒)



                 á¹Ç·Ò§»¯ÔºÑμԢͧ਌Ҿ¹Ñ¡§Ò¹ตําÃǨ㹡Ò䌹

                             ในเรื่องของหลักเกณฑการคน กรณีที่เด็กหรือเยาวชนผูถูกตองหาวากระทําความผิด
                 นั้น จะใชหลักเกณฑที่ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญากําหนดไว เพราะพระราชบัญญัติ

                 ศาลเยาวชนและครอบครัวฯ ไมไดบัญญัติไวเปนพิเศษ อยางเชน การจับกุม ดังนั้น จึงใหนําบทบัญญัติ
                 แหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาใชบังคับไดเทาที่ไมขัดหรือแยงกับบทบัญญัติ
                 แหงพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัว (มาตรา ๖) การคนแยกเปน ๓ ประเภท คือ

                             ๑.  การคนตัวบุคคล
                             ๒.  การคนสถานที่
                             ๓.  การคนยานพาหนะ

                             ๑)  ¡Ò䌹μÑǺؤ¤Å
                                  (๑)  การคนตัวบุคคลผูตองสงสัย

                                       ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๙๓ “หามมิใหทําการคน
                 บุคคลใดในที่สาธารณะ เวนแตเจาพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจเปนผูคนในเมื่อมีเหตุอันควร
                 สงสัยวาบุคคลนั้นมีสิ่งของในความครอบครองเพื่อจะใชในการกระทําความผิด หรือซึ่งไดมาโดยการ
                 กระทําความผิด หรือซึ่งมีไวเปนความผิด”

                                       จากบทบัญญัติดังกลาว เห็นไดวา การคนตัวบุคคลในที่สาธารณะ เจาพนักงาน
                 ตํารวจจะทําการคนตัวบุคคลผูตองสงสัยไดตอเมื่อÁÕàËμØÍѹ¤ÇÃʧÊÑÂวา

                                       - บุคคลนั้นมีสิ่งของในครอบครอง เพื่อจะใชในการกระทําความผิด
                                       - สิ่งของที่บุคคลนั้นครอบครองนั้นเปนสิ่งที่ไดมาจากการกระทําความผิด
                 หรือมีไวเปนความผิด
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49