Page 49 - 18_การปฏบตตอเดก เยาวชน สตร_Neat
P. 49

๔๐




               ขอสังเกต
                     นายธานิศ เกศวพิทักษ รองประธานศาลฎีกาไดใหขอสังเกตวา เจตนารมณของมาตรา ๑๓๓ ทวิ ไมประสงคจะให
               ความคุมครองแกเด็ก การเขารวมในการชุลมุนตอสู กลาวคือ ไมคุมครองผูเสียหายหรือพยานที่เปนเด็กที่เขาในการชุลมุน
               ตอสู แมจะเปนคดีอาญาตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๒๙๔, ๒๙๙ ก็ตาม แตหากผูเสียหายหรือพยานที่เปนเด็กนั้น
               เปนผูบริสุทธิ์ไมไดเขารวมในการชุลมุนตอสู แตบังเอิญอยูในบริเวณดังกลาวเชนนี้ เด็กนั้นนาจะไดรับความคุมครองสิทธิ
               ตามมาตรา ๑๓๓ ทวินี้ โดยไมตองรองขอ
                     เห็นไดวาคดีตามขอ (๑) - (๔) ขางตนนั้นเปนหนาที่ของผูรับคํารองทุกข รองที่จะตองจัดใหมีกลุมสหวิชาชีพรวมในการ
               จดบันทึกคํารองทุกข แตถาเปนคดีความผิดอื่นที่มีอัตราโทษจําคุกมิใชคดีตามขอ (๑) - (๔) ซึ่งนอกเหนือจากที่มาตรา ๑๓๓
               ทวิ วรรคแรกระบุไวนั้น ผูรับคํารองทุกขจะนําหลักเกณฑการจดบันทึกคํารองทุกข ที่กําหนดไวตามมาตรา ๑๒๔/๑ ประกอบ
               มาตรา ๑๓๓ ทวิ วรรคแรกมาใชเมื่อผูเสียหายที่เปนเด็กรองขอ (ธานิศ  เกศวพิทักษ, ๒๕๕๗)



                          ๒)  พนักงานสอบสวนและพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจผูรับคํารองทุกขจะตอง

              ปฏิบัติตามที่มาตรา ๑๓๓ ทวิ กําหนดกลาวคือ
                               (๑)  จะตองแยกกระทําเปนสวนสัดในสถานที่ที่เหมาะสมสําหรับเด็ก

                               (๒)  ตองจัดใหมีกลุมสหวิชาชีพ คือ นักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห บุคคล
              ที่ผูเสียหาย ซึ่งเปนเด็กรองขอ และพนักงานอัยการรวมอยูดวยในการจดบัันทึกคํารองทุกข

              โดยมาตรา ๑๓๓ ทวิ วรรคสอง กําหนดใหเปนหนาที่ของพนักงานสอบสวน ที่จะตองแจงใหนักจิตวิทยา
              หรือนักสังคมสงเคราะห บุคคลที่เด็กรองขอ และพนักงานอัยการทราบ

                               ในกรณีจําเปนเรงดวนอยางยิ่งซึ่งมีเหตุอันควร ไมอาจรอบุคคลในกลุมสหวิชาชีพ
              หรือบุคคลที่เด็กรองขอ เขารวมในการถามปากคําพรอมกันได มาตรา ๑๓๓ ทวิ วรรคหา ใหพนักงาน

              สอบสวนถามปากคํา โดยมีบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ดังที่กลาวมาขางตนอยูรวมก็ได แตตองบันทึกเหตุที่
              ไมอาจรอบุคคลอื่นไวในสํานวนการสอบสวน และมิใหถือวาการถามปากคําผูเสียหายหรือพยาน

              ซึ่งเปนเด็กในกรณีดังกลาวที่ไดกระทําไปแลวไมชอบดวยกฎหมาย

               ขอสังเกต
                     ในกรณีที่ไมอาจรอบุคคลในกลุมสหวิชาชีพหรือบุคคลที่เด็กรองขอนั้น ในมาตรา ๑๒๔/๑ ไดบัญญัติไวตอนทายวา
               “.....เวนแตมีเหตุจําเปนไมอาจหาหรือรอนักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห บุคคลที่เด็กรองขอและพนักงานอัยการได
               และเด็กไมประสงคจะใหมีหรือรอบุคคลดังกลาวตอไป ทั้งนี้ ใหผูรับคํารองทุกขตามมาตรา ๑๒๓ หรือมาตรา ๑๒๔
               แลวแตกรณี บันทึกเหตุดังกลาวไวในบันทึกคํารองทุกขดวย”
                     จากมาตราดังกลาว แสดงวา กฎหมายยอมยกเวนใหผูรับคํารองทุกขมีอํานาจจดบันทึกคํารองทุกขในกรณีมีเหตุ
               จําเปน ไมอาจหาหรือรอบุคคลในกลุมสหวิชาชีพใหครบถวนทุกประเภทได กลาวคือ ตองเปนกรณีเด็กไมประสงคจะใหมี
               หรือไมประสงคจะรอบุคคลดังกลาวตอไป
                     ดังนั้น หากเด็กยังประสงคจะใหมีหรือรอบุคคลดังกลาว ผูรับคํารองทุกขตองปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กฎหมายกําหนด
               อยางไรก็ตาม การที่กฎหมายยอมรับความประสงคของผูเสียหายที่เปนเด็กอายุไมเกิน ๑๘ ป ที่ไมตองการใหมีหรือรอบุคคล
               ที่กฎหมายกําหนด จะใชเฉพาะเรื่อง การจดบันทึกคํารองทุกข ในคดีที่ผูเสียหายเปนเด็กอายุไมเกิน ๑๘ ป ตามมาตรา ๑๒๔/๑
               เทานั้น แตหากเปนกรณีที่พนักงานสอบสวนถามปากคําผูเสียหายหรือพยานตามมาตรา ๑๓๓ ทวิ วรรคหนึ่ง หรือถามปากคํา
               ผูตองหาที่เปนเด็กอายุไมเกิน ๑๘ ป ตามมาตรา ๑๓๔/๒ ประกอบมาตรา ๑๓๓ ทวิ พนักงานสอบสวนตองปฏิบัติตาม
               มาตรา ๑๓๓ ทวิ อยางเครงครัด จะปฏิบัติตามความตองการของเด็กไมได (ธานิศ เกศวพิทักษ, ๒๕๕๗)
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54