Page 39 - 18_การปฏบตตอเดก เยาวชน สตร_Neat
P. 39

๓๐




                          ๒)  ในการพิจารณาออกหมายจับเด็กหรือเยาวชน ซึ่งตองหาวากระทําความผิดนั้น
              นอกจากศาลจะพิจารณาถึงเหตุที่จะออกหมายจับตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

              มาตรา ๖๖ แลว พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวฯ มาตรา ๖๗ ยังกําหนดหลักเกณฑดังนี้
                               (๑)  ใหศาลคํานึงถึงการคุมครองสิทธิเด็กหรือเยาวชนเปนสําคัญ โดยเฉพาะในเรื่อง
              อายุ เพศ และอนาคตของเด็กหรือเยาวชน ที่พึงไดรับการพัฒนาและปกปองคุมครอง
                               (๒)  หากการออกหมายจับจะมีผลกระทบกระเทือนตอจิตใจของเด็กหรือเยาวชน

              อยางรุนแรงโดยไมจําเปน ใหพยายามหลีกเลี่ยงการออกหมายจับ โดยใชวิธีติดตามตัวเด็ก หรือเยาวชน
              นั้นดวยวิธีอื่นกอน


              ¡ÒèѺ¡ØÁà´ç¡ËÃ×ÍàÂÒǪ¹

                          เนื่องจากเด็กมีความสําคัญตอการพัฒนาประเทศ รัฐจึงจําเปนตองคุมครองดูแลเด็ก
              ขณะเดียวกัน หากเด็กพลาดพลั้งไปกระทําความผิดดวยเพราะเหตุที่ออนดอยประสบการณ ขาดความยั้งคิด

              หรือดวยเหตุใดก็ตาม เพื่อใหเด็กเหลานั้นไดมีโอกาสกลับตัวเปนคนดีของสังคมในอนาคต ซึ่งจําเปน
              ที่จะตองมีวิธีการดําเนินการเกี่ยวกับเด็กเปนการเฉพาะ เพื่อใหสอดคลองกับหลักสากล

                          พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวฯ ไดกําหนดหลักเกณฑในการจับกุมเด็ก
              หรือเยาวชนนั้น ซึ่งตองหาวากระทําความผิดไวในมาตรา ๖๖ กลาวคือ
                          ¡Ã³Õà´ç¡ ซึ่งหมายถึง บุคคลอายุยังไมเกิน ๑๕ ปบริบูรณ “ËŒÒÁÁÔãËŒ¨Ñº¡ØÁà´ç¡” ซึ่งตองหา
              วากระทําความผิด

                          àÇŒ¹áμ‹
                               (๑)  เด็กกระทําความผิดซึ่งหนา

                               (๒)  มีหมายจับหรือมีคําสั่งของศาล
                          กรณีเยาวชน ซึ่งหมายถึง บุคคลอายุเกิน ๑๕ ปบริบูรณ แตยังไมถึง ๑๘ ปบริบูรณ
              ซึ่งตองหาวากระทําความผิด ใหปฏิบัติตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา กลาวคือ
              เจาพนักงานตํารวจจะจับผูใดโดยไมมีหมายจับหรือคําสั่งศาลไมได เวนแต

                               (๑)  เมื่อบุคคลนั้นไดกระทําความผิดซึ่งหนา
                               (๒)  เมื่อพบบุคคลโดยมีพฤติการณอันควรสงสัยวา ผูนั้นนาจะกอเหตุราย ใหเกิด

              ภยันตรายแกบุคคลหรือทรัพยสินของบุคคลอื่น โดยมีเครืื่องมือ อาวุธ หรือวัตถุอยางอื่นอันสามารถ
              อาจใชในการกระทําความผิด
                               (๓)  เมื่อมีเหตุที่จะออกหมายจับบุคคลนั้น เนื่องจากมีหลักฐานตามสมควรวา

              บุคคลนั้นนาจะไดกระทําความผิดอาญา และมีเหตุอันควรเชื่อวาจะหลบหนีหรือจะไปยุงเหยิงกับพยาน
              หลักฐาน หรือกอเหตุอันตรายประการอื่น แตมีความจําเปนเรงดวนที่ไมอาจขอใหศาลออกหมายจับ
              บุคคลนั้นได

                               (๔)  เปนการจับกุมผูตองหาหรือจําเลยที่หนีหรือจะหลบหนีในระหวางถูกปลอย
              ชั่วคราว ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๑๗
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44