Page 74 - geographychalisa
P. 74
74
นอกจากนั้นยังมีการน าข้อมูลทางแผนที่ลงไว้เป็นข้อมูลภายในโครงข่ายอินเตอร์เน็ต ที่มี
ความส าคัญและสามารถใช้งานได้เกือบทุกพื้นที่ โดยเฉพาะการให้บริการอินเตอร์เน็ตกับโทรศัพท์ติดตามตัว
ทั้งระบบ GPRS และระบบ <st1:metricconverter w:st="on" productid="3 G">3 G</st1:metricconverter>
ระบบก าหนดต าแหน่งบนโลกหรือระบบจีพีเอส GPS (Global Positioning System)
คือระบบบอกต าแหน่งบนพื้นผิวโลก โดยอาศัยการค านวณจากสัญญาณนาฬิกาที่ส่งมาจาก
ดาวเทียมที่ โคจรอยู่รอบโลกซึ่งทราบต าแหน่ง ท าให้ระบบนี้สามารถบอกต าแหน่ง ณ จุดที่สามารถรับ
สัญญาณได้ทั่วโลก โดยเครื่องรับสัญญาณจีพีเอส รุ่นใหม่ๆ จะสามารถค านวณความเร็วและทิศทางน ามาใช้
ร่วมกับโปรแกรมแผนที่ เพื่อใช้ในการน าทางได้ แนวคิดในการพัฒนาระบบจีพีเอส เริ่มต้นตั้งแต่ปี ค.ศ. 1957
เมื่อนักวิทยาศาสตร์ของสหรัฐอเมริกา น าโดย Dr. Richard B. Kershner ได้ติดตามการส่งดาวเทียมสปุตนิก
ของโซเวียต และพบปรากฏการณ์ดอปเปลอร์ของคลื่นวิทยุที่ ส่งมาจากดาวเทียม พวกเขาพบว่าหากทราบ
ต าแหน่งที่แน่นอนบนพื้นผิวโลก ก็สามารถระบุต าแหน่งของดาวเทียมได้จากการตรวจวัดดอปเปลอร์ และ
หากทราบต าแหน่งที่แน่นอนของดาวเทียม ก็สามารถระบุต าแหน่งบนพื้นโลกได้
เมื่อ ค.ศ. 1983 หลังจากเกิดเหตุการณ์โคเรียนแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 007 ของเกาหลีใต้ บินพลัดหลงเข้า
ไปในน่านฟ้าของสหภาพโซเวียต และถูกยิงตก ผู้โดยสาร 269 คนเสียชีวิตทั้งหมด ประธานาธิบดีโรนัลด์ เร
แกนได้ประกาศว่า เมื่อพัฒนาระบบจีพีเอสแล้วเสร็จ จะอนุญาตให้ประชาชนทั่วไปใช้งานได้ดาวเทียมจีพีเอส
เป็นดาวเทียมที่มีวงโคจรระดับกลาง (Medium Earth Orbit: MEO) ที่ระดับความสูง
ประมาณ <st1:metricconverter w:st="on" productid="20,200 กิโลเมตร">20,200 กิโลเมตร
</st1:metricconverter>(<st1:metricconverter w:st="on" productid="12,900 ไมล์">12,900 ไมล์
</st1:metricconverter> หรือ 10,900 ไมล์ทะเล) จากพื้นโลก ใช้การยืนยันต าแหน่งโดยอาศัยพิกัดจาก
ดาวเทียมอย่างน้อย 4 ดวง ดาวเทียมจะโคจรรอบโลกเป็นเวลา 12 ชั่วโมงต่อหนึ่งรอบ ที่ความเร็ว 4 กิโลเมตร/
วินาที การโคจรแต่ละรอบนั้นสามารถได้เป็น 6 ระนาบๆ ละ 4 ดวง ท ามุม 55 องศา โดยทั้งระบบจะต้องมี
ดาวเทียม 24 ดวง หรือมากกว่า เพื่อให้สามารถยืนยันต าแหน่งได้ครอบคลุมทุกจุดบนผิวโลก
ประโยชน์ของระบบจีพีเอส
1. ใช้ในระบบการขนส่งการจราจร เช่น รถ เรือ เครื่องบิน ฯ
2. ใช้ติดตามการความปลอดภัย เช่น ติดตามรถขนส่งเงิน ติดตามสิ่งของมีค่าและมีความส าคัญ
3. ส ารวจเพื่อท าแผนที่หรือส ารวจสัญญาณโทรคมนาคม เช่น การส ารวจจุดสัญญาณขาดหายของ
การให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่
4. ใช้ควบคุมเครื่องจักรกลระยะใกล้ หรือการท างานอัตโนมัติ