Page 103 - E-book หน้าที่พลเมืองและศีลธรรม
P. 103

98





                         5. ค่านิยมทางสุนทรียะ เป็นความซาบซึ้งในความดีและความงามของสิ่งต่าง ๆ

                         6. ค่านิยมทางศาสนา เป็นค่านิยมที่เกี่ยวกับความปรารถนา ความสมบรก

           รวมทั้งความศรัทธาและการบูชาในศาสนา






















                                          รูปที่ 5.3 ค่านิยมทางศาสนา



                  5.3.3 ค่านิยมของค่านิยม


                         ค่านิยมแบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือ
                         1. ค่านิยมในทางปฏิบัติ เป็นหลักของศีลธรรมที่ตั้งอยู่บนรากฐานที่ว่าคนใน

           สังคมต้อง พึ่งพาอาศัยกัน ดังนั้นค่านิยมจึงประณามสิ่งที่ทําให้เกิดความแตกแยกในสังคม เช่น

           การฉ้อโกง การใช้กําลัง และยกย่องพฤติกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม เช่น ความขยันขันแข็ง
           ความซื่อสัตย์

                         2. ค่านิยมอุดมคติ มีความลึกซึ้งกว่าค่านิยมในทางปฏิบัติ เช่น ศาสนาคริสต์

           สอนว่า จงรัก เพื่อนบ้านเหมือนรักตนเอง ซึ่งน้อยรายที่จะปฏิบัติตนได้ แต่ค่านิยมระดับนี้มี
           ความสําคัญในการทําให้คน เห็นแก่ตัวน้อยลง




           5.4    อิทธิพลของค่านิยมที่มีต่อพฤติกรรมของบุคคล



                  รองศาสตราจารย์ สุพัตรา สุภาพ ได้กล่าวถึงค่านิยมสังคมเมือง สังคมชนบทของ

           สังคมไทยไว้ ค่อนข้างชัดเจน โดยแบ่งค่านิยมออกเป็นสังคมนิยมคนเมืองและสังคมชนบท ทําให้

           เกิดอิทธิพลต่อ พฤติกรรมของบุคคลซึ่งสามารถแสดงได้ดังนี้
           ค่านิยมสังคมเมือง
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108