Page 98 - E-book หน้าที่พลเมืองและศีลธรรม
P. 98
93
5.2 คอามสําคัญของค่านิยม
ค่านิยมมีความเกี่ยวพันกับวัฒนธรรม ค่านิยมบางอย่างได้สร้างแบบของวัฒนธรรม เช่น
ค่านิยมเรื่อง รักอิสรเสรีของสังคมไทยทําให้คนไทยมีพฤติกรรมที่ “ทําอะไรตามใจคือไทยแท้”
เพราะฉะนั้นค่านิยมจึงมี ความสําคัญมากและมีผลกระทบถึงความเจริญหรือความเสื่อมของ
สังคม คือ สังคมที่มีค่านิยมที่เหมาะสม และถูกต้อง ถ้าสังคมใดยึดถือค่านิยมเรื่องความซื่อสัตย์
ความขยันหมั่นเพียร ความเสียสละ หรือความสามัคคี สังคมย่อมเจริญก้าวหน้า ในทางกลับกัน
ถ้าสังคมใดมีค่านิยมไม่สนับสนุนความเจริญ เช่น ค่านิยม ที่เชื่อเรื่องโชคชะตาก็จะก่อให้เกิด
พฤติกรรมไม่กระตือรือร้นหรือเฉื่อยชา ซึ่งจะเป็นอุปสรรคในการพัฒนา
ค่านิยมมีความสําคัญต่อบุคคลและสังคมดังนี้
1. ช่วยให้บุคคลตัดสินใจว่าสิ่งใดผิด สิ่งใดถูก ดีหรือไม่ดี มีคุณค่าหรือไม่มีคุณค่า
ควรหรือไม่ควรกระทํา
2. ช่วยในการกําหนดท่าที่ของบุคคลต่อเหตุการณ์ที่ต้องเผชิญ
3. ช่วยสร้างมาตรฐานและแบบฉบับการประพฤติปฏิบัติของบุคคล
4. มีอิทธิพลเหนือบุคคลในการเลือกตามหาสมาคมกับบุคคลอื่นและเลือก
กิจกรรม
5. ช่วยให้บุคคลกําหนดความคิดและแนวทางปฏิบัติ
ค่านิยมที่ไม่พึงปรารถนา ค่านิยมที่ไม่พึ่งปรารถนา
1. พึ่งพาตนเอง ขยันหมั่นเพียร 1. ให้ความสําคัญกับวัตถุหรือเงินตรา
2. รู้จักประหยัด อดออม รักษาทรัพย์สมบัติ 2. ยึดถือตัวบุคคล ยกย่องผู้มีอํานาจมี
3. รักพวกพ้อง รักความสนุกสนานในทางที่ผิด 3. รักพวกพ้อง รักความสนุกสนานในทางที่ผิด
เคร่งครัด 4. ชอบนิยมความหรูหรา ฟุ่มเฟือย นิยมใช้
4. การปฏิบัติตามหลักธรรมของ ของแพง
พระพุทธศาสนา 5. ไม่ตรงเวลา ขาดระเบียบวินัย ขาดความ
5. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ อดทนขาดความกระตือรือร้น
6. เป็นพลเมืองดีในวิถีประชาธิปไตย 6. ขาดความเคารพผู้อาวุโส
7. มีความกตัญญูรู้คุณต่อผู้มีพระคุณ 7. ทําบุญเอาหน้า หวังความสุขในชาติหน้า