Page 38 - demo
P. 38
16) ตะแบกนา
ชื่อพื้นเมือง : ตะแบกไข่, เปื๋อยนา, เปื๋อยหางค่าง
ชื่อวิทยาศาสตร์ : L. floribunda Jack.
ชื่อวงศ์ : Lythraceae
ชื่อสามัญ : Bungor
ถิ่นก าเนิด : เป็นไม้ยืนตั้งท้องถิ่นของเอเชีย พบแพร่กระจายตั้งแต่อินเดีย จีน
ตอนใต้พม่า ไทย ลาว และประเทศใกล้เคียงเรื่อยจนถึงหมู่เกาะฟิลิปปินส์ และ
ออสเตรเลีย
ลักษณะ : เป็นต้นไม้ผลัดใบ 15–30 เมตร ใบเดี่ยวออกตรงข้ามหรือเยื้องกันเล็กน้อย
ใบอ่อนสีแดงมีขนสั้นอ่อนนุ่มปกคลุม ใบแก่ขนจะหลุดหายไป แผ่นใบรูป
ขอบขนานแกมรูปหอก กว้าง 5–7เซนติเมตร ยาว 12–20 เซนติเมตร ปลายใบ
เป็นติ่งแหลม โคนสอบดอกสีม่วงอมชมพูต่อมาเปลี่ยนเป็นสีขาวหรือเกือบขาว
ออกรวมกันเป็นช่อตามปลายกิ่ง ผล รูปรี ยาวประมาณ 2 เซนติเมตร
ประโยชน์ : ใช้ท าเป็นของตกแต่งภายในบ้าน เช่น เนื้อไม้ละเอียดแข็ง ใช้ท าสิ่งปลูกสร้าง
ที่รับน้ าหนัก เสา กระดานพื้น และเครื่องมือการเกษตร และนิยมปลูกเป็นไม้ประดับ
นิเวศวิทยา : ขึ้นประปรายในป่าเบญจพรรณพื้นที่ที่ค่อนข้างชุ่มชื้นทางภาคเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ส่วนภาคตะวันออก และภาคใต้มีขึ้นอยู่มาก
ใน ป่าดงดิบ ป่าน้ าท่วม และตามท้องนา ทั่ว ๆ ไป
31