Page 53 - ED 211
P. 53

ตารางที่ 3  แผนพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาในแผนพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่หนึ่ง ระยะที่สองจนถึงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่สิบ

                   สองจ าแนกตามนโยบายหรือทิศทางหรือหลักการ วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายหรือตัวชี้วัด และแนวทางหรือมาตรการ (ต่อ)

                            นโยบาย/ทิศทาง/หลักการ                 วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/ตัวชี้วัด                       แนวทาง/มาตรการ
                      ศึกษาตอนต้น (ป.1–ป.4) ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น และ
                      เพิ่มระดับการศึกษาภาคบังคับจาก 4 ปี เป็น 7

                      ปี ให้ทั่วประเทศภายในระยะเวลาอันเหมาะสม
                   2.  ขยายและปรับปรุงการศึกษาระดับกลาง ทั้งใน
                      ด้านสามัญและอาชีวศึกษาให้เป็นรากฐานในการ

                      สร้างก าลังแรงงานแขนงอาชีพต่าง ๆ ให้ทันความ
                      ต้องการอันรีบด่วนของประเทศ
                   3.  ส่งเสริมการผลิตครูที่มีคุณวุฒิให้เพียงพอทันกับ

                      การขยายตัวด้านอาชีวศึกษา
                   4.  เพื่อส่งเสริมอุดมศึกษาให้สามารถผลิตนักศึกษา
                      ในอาชีพแขนงต่าง ๆ ให้เพียงพอกับการขยายตัว

                      ทางเศรษฐกิจของประเทศ
                   2. แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่สอง (พ.ศ.2510-2514)

                       การที่จะบรรลุเป้าหมายของการพัฒนาที่วางไว้  1.  ในปีสุดท้ายของแผนคาดว่า จะมีนักเรียนทั้งสิ้น  1.  ปรับปรุงระบบการศึกษาทุกระดับให้เหมาะสมเพื่อให้การจัดการศึกษาได้
                   ปัจจัยที่ส าคัญที่สุดประการหนึ่ง คือ ทรัพยากรมนุษย์  6,350,500 คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 20 ระดับที่มี  เป็นไปโดยประหยัดและเกิดผลประโยชน์สูงสุด โดยสนับสนุนการวิจัยทาง
                   ที่มีความรู้ความสามารถทุกระดับ ซึ่งได้มาจากการ  อัตราส่วนเพิ่มสูงสุด คือ ระดับเทคนิคและครู  วิชาการศึกษาและวิทยาการสมัยใหม่
                   ฝึกอบรมและการศึกษา การพัฒนาการศึกษาคือการ  ประกาศนียบัตร ทั้งนี้ เป็นการขยายปริมาณให้ 2.  ให้นักเรียนที่อยู่ในวัยการศึกษาภาคบังคับได้เข้าเรียนให้มากที่สุดและโดย

                   ผลิตก าลังคนทุกระดับให้มีปริมาณและคุณภาพเป็น  สอดคล้องกับความต้องการของประเทศในเรื่อง   สม่ าเสมอ ส่วนการขยายการศึกษาภาคบังคับไปถึงประถมปลายจะขยาย
                   ส่วนสัดตรงตามความต้องการในระบบเศรษฐกิจและ   ช่างฝีมือ และขยายการผลิตครูให้รับกับการเพิ่ม    ให้มากขึ้น ให้ได้ส่วนกับการขยายการศึกษาระดับมัธยมเพื่อสนองความ





                                                                                                        เอกสารประกอบการสอนรายวิชากระบวนทัศน์ทางการศึกษา พรใจ ลี่ทองอิน | 44
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58