Page 113 - ED 211
P. 113

ตารางที่ 3  แผนพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาในแผนพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่หนึ่ง ระยะที่สองจนถึงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่สิบ

                   สองจ าแนกตามนโยบายหรือทิศทางหรือหลักการ วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายหรือตัวชี้วัด และแนวทางหรือมาตรการ (ต่อ)

                            นโยบาย/ทิศทาง/หลักการ                 วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/ตัวชี้วัด                       แนวทาง/มาตรการ
                   ค่าจ้างที่เริ่มขยับตัวสูงขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหา  ปัจจุบันร้อยละ 46.2 เป็นไม่ต่ ากว่าร้อยละ 73   ดังนี้
                   การขาดแคลนแรงงานทั้งในระดับพื้นฐาน         ในปีสุดท้ายของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 7 โดยเน้น  1.1)  ส่งเสริมพัฒนาการของเด็กตั้งแต่แรกเกิดจนถึงวัยการศึกษาภาค

                   ระดับกลางและระดับสูงที่เกี่ยวข้องกับทางด้าน  พื้นที่ชนบทยากจนซึ่งมีอัตราการเรียนต่ า   บังคับ
                   วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในขณะเดียวกันเป็นที่ 2.  ในปีสุดท้ายของแผนพัฒ นาฯ ฉบับที่ 7   -  ในระดับ 0-5 ปี เน้นบทบาทของสถาบันครอบครัวในการอบรมเลี้ยง
                   คาดว่าในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 7 ยังมีแรงงาน  ก าหนดให้มีการรับนักศึกษาใหม่ในระดับ      ดูเด็ก ส่งเสริมให้ชุมชน สถานประกอบการและหน่วยงานต่าง ๆ จัด

                   ด้อยทักษะฝีมือที่ยังมีงานท าไม่เต็มที่ในภาคเกษตร   อุดมศึกษามีสัดส่วนของสายวิทยาศาสตร์ต่อสาย  ศูนย์เลี้ยงดูเด็กก่อนวัยเรียนอย่างกว้างขวางยิ่งขึ้น
                   ซึ่งมีความจ าเป็นจะต้องได้ รับการยกระดับทักษะ  สังคมศาสตร์เป็น 30 : 70 โดยเน้นการผลิต  -  ขยายและส่งเสริมการจัดการศึกษาในการบริบาลทารก การดูแล
                   ฝีมือให้สอดคล้องกับลักษณะโครงสร้างการผลิตด้าน  แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร วิศวกร นัก-     เด็กเล็กในชั้นอนุบาลทั้งในระบบและนอกระบบ โดยชักจูงหรือให้

                   อุตสาหกรรมและเกษตรกรรมที่ก าลังเปลี่ยนไปสู่  วิทยาศาสตร์ และก าลังคนสาขาบริการต่าง ๆ ที่  สิ่งจูงใจภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้น
                   ความทันสมัยอีกเป็นจ านวนมาก การจัดระบบ     สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ               1.2)  เร่งรัดการจัดการศึกษาภาคบังคับ (6 ปี) ให้ครอบคลุมประชากรใน
                   การศึกษาและฝึกอบรมทรัพยากรมนุษย์ใน 3.  ให้ประชาชนได้รับการศึกษาทั้งในระบบและนอก        กลุ่มอายุ โดยเฉพาะเด็กในชนบทห่างไกล เด็กที่เคลื่อนย้ายตามผู้

                   กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ให้มีศักยภาพ และขีด    ระบบโรงเรียนอย่างกว้างขวางทั่วถึงและต่อเนื่อง   ปกครองไปท างานยังที่ต่าง ๆ รวมทั้งเยาวชนและสตรีที่ถูกใช้เป็น
                   ความสามารถที่เหมาะสมในอันที่จะปรับตัวให้เข้ากับ                                        เครื่องมือในการหาผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจอย่างไม่เป็นธรรม โดย
                   การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของการพัฒนา                                                  เน้น

                   ประเทศได้ทันเหตุการณ์มากยิ่งขึ้น เป็นหนึ่งใน                                         -  ขยายและพัฒนารูปแบบวิธีการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมแก่
                   จุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ คุณภาพ                                          เด็กผู้ด้อยโอกาสในชนบทที่ห่างไกลในชุมชนแออัด เด็กที่มีความผิด
                   ชีวิตและสิ่งแวดล้อม                                                                    ปกติทางร่างกาย จิตใจ รวมทั้งเด็กและเยาวชนที่มีปัญญาเลิศหรือมี

                                                                                                          ความสามารถพิเศษ
                                                                                                        -  ปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนเพื่อลดอัตราการออกกลางคัน





                                                                                                        เอกสารประกอบการสอนรายวิชากระบวนทัศน์ทางการศึกษา พรใจ ลี่ทองอิน | 74
   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118