Page 58 - ED 211
P. 58
ตารางที่ 3 แผนพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาในแผนพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่หนึ่ง ระยะที่สองจนถึงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่สิบ
สองจ าแนกตามนโยบายหรือทิศทางหรือหลักการ วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายหรือตัวชี้วัด และแนวทางหรือมาตรการ (ต่อ)
นโยบาย/ทิศทาง/หลักการ วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/ตัวชี้วัด แนวทาง/มาตรการ
10. ท านุบ ารุงและส่งเสริมขนบธรรมเนียม ศีลธรรม ศิลปวัฒนธรรมและศาสนา
อันเป็นมรดกของชาติ
3. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่สาม (พ.ศ.2515-2519)
ยึดแนวคิดแผนพัฒนาฯ ระยะที่หนึ่งและสอง เป้าหมาย มีดังนี้ ระดับประถมศึกษา
และยังเน้นหนักในด้านการเตรียมประเทศชาติให้ 1. ขยายการศึกษาระดับประถมศึกษาตอนต้น ให้ 1. ขยายการศึกษาให้สอดคล้องกับจ านวนประชากรที่เพิ่มขึ้น ปรับปรุง
พร้อมที่จะย่างเข้าสู่ยุควิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สอดคล้องกับจ านวนประชากรวัยเรียนที่เพิ่มขึ้น ประสิทธิภาพในการจัดการศึกษาเพื่อลดอัตราการสูญเปล่า โดยเฉพาะใน
รวมทั้งการแก้ปัญหาด้านคุณภาพและประสิทธิภาพ เพื่อให้ประชาชนได้รับการศึกษาโดยทั่วถึง ระดับประถมศึกษาตอนต้น
ในการจัดการศึกษาอย่างจริงจัง โดยการมีส่วนรวม 2. ขยายการศึกษาภาคบังคับระดับประถมปลาย 2. เร่งรัดขยายการศึกษาประถมศึกษาตอนปลาย โดยเน้นหนักในอาชีพที่
ของการพัฒนาการศึกษา (ป.5-ป.7) โดยเร็วที่สุดเท่าที่จะท าได้ เพื่อให้ ประกอบในส่วนภูมิภาค
1. ปรับปรุงการศึกษาให้มีความสัมพันธ์กับการ ประชากรได้ รับการศึกษาขั้นนี้โดยทั่วถึงอย่างช้า 3. ปรับปรุงโรงเรียนประถมศึกษาในภูมิภาคให้มีลักษณะเป็นโรงเรียนชุมชน
พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศพร้อมทั้ง ที่สุดในปี 2533 และเพิ่มการศึกษาด้านเกษตรใน โดยระดมทรัพยากรที่มีอยู่มาใช้ให้สอดคล้องกับการพัฒนาท้องถิ่น
ค านึงถึงการปลูกฝังพลเมืองให้มีความรู้สึก ระดับนี้ ระดับมัธยมศึกษาสายสามัญ
รับผิดชอบต่อสังคมและความมั่นคงปลอดภัยของ 3. สนั บ สนุ นการศึ กษาด้านวิท ยาศาสต ร์ 1. ปรับปรุงและขยายการศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการก าลังคน
ประเทศ อาชีวศึกษาและเทคโนโลยี และขยายการศึกษา ระดับกลางโดยเร่งรัดการศึกษาในส่วนภูมิภาคเป็นพิเศษและปรับปรุงการ
2. ส่งเสริมการศึกษาวิจัยสาขาวิทยาศาสตร์และ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นให้มากขึ้นตามก าลัง จัดการมัธยมศึกษาให้มีหลักสูตรกว้างขวาง
เทคโนโลยี เงินที่จะหาได้ เพื่อสามารถผลิตนักเรียนเพียง 2. ปรับปรุงประสิทธิภาพในการให้การศึกษาเพื่อลดอัตราการสูญเปล่า
3. ส่งเสริมการศึกษาด้านเกษตรกรรม เพื่อเพิ่มพูน พอที่จะศึกษาอบรมต่อ เพื่อใช้เป็นก าลังคน โดยเฉพาะในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ประสิทธิภาพในการผลิตของประเทศ ระดับกลางในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่สี่ และต่อไป 3. หาทางปรับปรุงประสิทธิภาพของโรงเรียนราษฎร์โดยให้ความสนใจเป็น
4. ขยายและปรับปรุงด้านการประถมศึกษาภาค 4. ขยายการฝึกหัดครูให้พอแก่ความต้องการของ พิเศษในด้านปรับปรุงคุณภาพการสอน
เอกสารประกอบการสอนรายวิชากระบวนทัศน์ทางการศึกษา พรใจ ลี่ทองอิน | 46