Page 68 - ED 211
P. 68
ตารางที่ 3 แผนพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาในแผนพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่หนึ่ง ระยะที่สองจนถึงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่สิบ
สองจ าแนกตามนโยบายหรือทิศทางหรือหลักการ วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายหรือตัวชี้วัด และแนวทางหรือมาตรการ (ต่อ)
นโยบาย/ทิศทาง/หลักการ วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/ตัวชี้วัด แนวทาง/มาตรการ
ในด้านงานวิชาการและด้านอื่น ๆ ให้สอดคล้อง ระยะสั้น ความถนัดของแต่ละบุคคล
กับนโยบายโครงการและเอกลักษณ์ในการจัด 5. ลดการรับนักเรียนฝึกหัดครูในระดับปกศ.ต้น ให้ 2. จัดโครงสร้างของหลักสูตรให้มีลักษณะที่จะจบในตัวเองได้และเหมาะสม
การศึกษาของชาติ ส่วนการศึกษาภาคบังคับนั้น เหลือประมาณ 3,000 คน ในปี 2524 แต่จะ กับสภาพเศรษฐกิจและสังคม
รัฐจะให้เอกชนร่วมรับภาระในการจัดได้ภายใน ขยายการรับนักเรียน ปกศ. สูง ให้สามารถรับ 3. ปรับปรุงเนื้อหาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้ตอบสนองความต้องการ
ขอบเขตที่รัฐก าหนด และจะเร่งรัดการศึกษาภาค นักเรียนให้ได้จ านวนประมาณ 58,000 คนในปี ของบุคคล ท้องถิ่น นโยบาย โครงการ และเอกลักษณ์ในการจัดการศึกษา
บังคับให้ทั่วถึง 2524 ของชาติ เพื่อการพัฒนาประเทศ และเอื้ออ านวยให้ผู้เรียนค้นพบ
7. เร่งส่งเสริมการศึกษานอกโรงเรียนให้กว้างขวาง 6. ในระดับอุดมศึกษามีเป้าหมายให้รับนักศึกษา ความสามารถของตนเองและให้คิดเป็น ท าเป็น
ในรูปแบบต่าง ๆ หลายลักษณะให้สอดคล้องกับ เพิ่มขึ้นเฉลี่ยประมาณร้อยละ 4 ต่อปี แต่ให้มีการ 4. เปลี่ยนระบบการวัดผล การนิเทศ ให้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้
ความสนใจ ความจ าเป็น และความต้องการของ เน้นเรื่องคุณภาพให้สูงขึ้น และให้การผลิตบัณฑิต และการกระจายอ านาจหน้าที่ การวัดผลการศึกษาไปให้โรงเรียน โดยจัด
ประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ แต่ละสาขาสอดคล้องกับความต้องการของ ให้มีการควบคุมคุณภาพการศึกษาให้ได้มาตรฐานพร้อม ๆ กันไป
8. จัดและส่งเสริมให้มีความเสมอภาคทางการศึกษา ประเทศมากที่สุด 5. ขยายปริมาณและปรับปรุงคุณภาพโรงเรียนมัธยมในจังหวัดต่าง ๆ ตาม
โดยรัฐจะเร่งรัดการศึกษาภาคบังคับให้แก่ สภาพท้องถิ่น โดยค านึงถึงสัดส่วนที่เสมอภาคกัน
ประชาชนอย่างทั่วถึงทุกท้องถิ่น ส่วนการศึกษาที่ 6. จัดแบ่งเขตโรงเรียนตามเมืองใหญ่และท้องที่ต่าง ๆ โดยพิจารณาตามความ
มิใช่ภาคบังคับ รัฐจะสนับสนุนให้จัดการศึกษา เหมาะสมในลักษณะสภาพท้องที่และระยะเวลาศึกษา
เพื่อให้ประชาชนมีโอกาสที่จะได้รับการศึกษาโดย 7. ปรับปรุงอัตราค่าธรรมเนียมการศึกษาต่าง ๆ ในระดับมัธยมศึกษาให้ผู้รับ
เสมอภาคกัน การศึกษาร่วมรับภาระในการจัดการศึกษาระดับนี้ตามสมควร ผู้ยากไร้แต่
9. ส่งเสริมการวิจัย การติดตามประเมินผล และ เรียนดี รัฐจะให้ทุนการศึกษาในระดับนี้ให้มากขึ้นกว่าเดิม
สร้างสรรศิลปวัฒนธรรมของชาติ 8. ให้วิทยาลัยอาชีวศึกษาปรับปรุงหลักสูตรและแบบเรียนให้เน้นหลักในวิชา
10. ส่งเสริมให้ผู้ที่ได้รับการคัดเลือกจากท้องถิ่นให้ได้ อาชีพอย่างแท้จริง เพื่อให้ผู้ส าเร็จการศึกษาสามารถออกไปประกอบอาชีพ
เอกสารประกอบการสอนรายวิชากระบวนทัศน์ทางการศึกษา พรใจ ลี่ทองอิน | 51