Page 76 - ED 211
P. 76
ตารางที่ 3 แผนพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาในแผนพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่หนึ่ง ระยะที่สองจนถึงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่สิบ
สองจ าแนกตามนโยบายหรือทิศทางหรือหลักการ วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายหรือตัวชี้วัด และแนวทางหรือมาตรการ (ต่อ)
นโยบาย/ทิศทาง/หลักการ วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/ตัวชี้วัด แนวทาง/มาตรการ
5. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ห้า (พ.ศ.2525-2529)
นโยบายพัฒนาการศึกษาโดยส่วนรวมมี ดังนี้ เป้าหมาย มาตรการการพัฒนา เพื่อให้การพัฒนาการศึกษาได้บรรลุผลตามนโยบายและ
1. นโยบายด้านปริมาณจะจัดและส่งเสริมการศึกษา 1. ด้านปริมาณ ก่อนประถมศึกษาจะขยาย เป้าหมาย
ในทุกลักษณะงานทั้งในระบบและนอกระบบ การศึกษาให้ได้ร้อยละ 35.4 ของประชากรใน ก่อนประถมศึกษา
โรงเรียนให้มีประมาณและสัดส่วนสอดคล้องกับ กลุ่มอายุ การประถมศึกษาจะขยายให้คลุม 1. ทบทวนการขยายบริการชั้นเด็กเล็กในโรงเรียนประถมศึกษาของรัฐ
การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โดย ประชากรในกลุ่มอายุทุกคน ส่วนมัธยมต้น ก าหนดขอบเขตและหลักเกณฑ์ให้ชัดเจนเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายการ
จะเน้นให้ความส าคัญด้านประถมศึกษาให้ มัธยมปลายและอุดมศึกษา จะขยายให้ได้ร้อยละ ส่งเสริมเอกชนให้มาลงทุนในด้านนี้
สามารถคลุมกลุ่มประชากรในวัยเรียน โดยจะให้ 48.4 30.9 และ 4.8 ของประชากรในกลุ่มอายุ 2. การบริการแก่เด็กก่อนวัยเรียนจะเน้นด้านโภชนาการและความพร้อมของ
เด็กที่มีอายุครบ 6 ปีบริบูรณ์ได้มีโอกาสเข้าเรียน ตามล าดับ การศึกษานอกโรงเรียนจะให้บริการ เด็กในการเตรียมตัวเข้าสู่การศึกษาภาคบังคับ
ทุกคน จะขยายการศึกษามัธยมต้นในชนบทที่ โดยเฉลี่ยปีละประมาณ 1.5 ล้านคน การประถมศึกษา
ห่างไกล และทุรกันดาร โดยคลุมพื้นที่ต าบล 2. ด้านคุณภาพ 1. ใช้แผนการจัดพื้นที่การจัดตั้งโรงเรียนและนวัตกรรมตลอดจนเทคโนโลยี
ขนาดใหญ่จะส่งเสริมและขยายการพัฒนา 2.1) ลดอัตราการตกซ้ าชั้นในระดับประถม ใหม่ ๆ ในการขยายการศึกษาภาคบังคับในท้องถิ่นที่ห่างไกลและกันดาร
การศึกษานอกโรงเรียนให้กว้างขวางยิ่งขึ้น ศึกษาลงร้อยละ 2 ต่อปี 2. ให้มีการนิเทศการศึกษามากขึ้นและสม่ าเสมอ และติดตามประเมินผล
2. นโยบายด้านคุณภาพจะปรับปรุงคุณภาพ 2.2) มีการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงเนื้อหาและ อย่างมีระบบ เพื่อให้ปรากฏผลชัดเจนยิ่งขึ้น
การศึกษาทุกลักษณะงาน โดยเฉพาะการ สาระทางด้านวิชาการอาชีพ และจริยธรรม 3. ให้มีการน าโครงการส่งเสริมสมรรถภาพการสอนมาใช้แก่โรงเรียนที่มีครูไม่
ปรับปรุงคุณภาพและมาตรฐานของโรงเรียน ของหลักสูตรให้สอดคล้องกันทุกระดับ ครบชั้นเรียนเท่านั้น และเร่งการกระจายครูจากโรงเรียนที่เกินไปยัง
ประถมศึกษาและโรงเรียนมัธยมศึกษาในเมือง 2.3) ปรับปรุงมาตรฐานของโรงเรียนในชนบทที่ โรงเรียนในพื้นที่ที่ยังมีครูไม่ครบจ านวนโดยด่วน
และชนบทให้ใกล้เคียงกัน และเน้นการจัดระบบ ห่างไกลให้มีคุณภาพใกล้เคียงกับโรงเรียน 4. ปรับปรุงคุณภาพครู พัฒนาและปรับปรุงอุปกรณ์การเรียน การสอน การ
การติดตามประเมินผลและการนิเทศการศึกษา ในเมือง กระจายและการจัดส่งให้ถึงพื้นที่ทันเวลาการใช้
เอกสารประกอบการสอนรายวิชากระบวนทัศน์ทางการศึกษา พรใจ ลี่ทองอิน | 55