Page 41 - คู่มือเลี้ยงปลาบนพื้นที่สูง real 7_7_2018
P. 41
แก๊สพวกแอมโมเนียละลายอยู่ในน้้ามาก ซึ่งจะเป็นอันตรายต่อปลา การใส่ปุ๋ยคอกควร
ื
ใช้วิธีหว่านลงไปในบ่อให้ละลายไปทั่ว ๆ อย่าโยนให้ตกอยู่ในที่เดียวกัน ส่วนปุ๋ยพชสด
หรือฟางข้าวนั้น ควรเทสุมเป็นกองไว้ตามมุมบ่อ 1 หรือ 2 แห่ง โดยมีไม้ไผ่ปักล้อมไว ้
เป็นคอกรอบกองฟางนั้น และมีช่องว่างเผื่อเอาไว้ให้ปลาว่ายน้้าเขาออกและสามารถ
ี่
้
้
ั
ั
หาอาหารกินได เพื่อป้องกันมิให้ส่วนทยงไม่สลายตวลอยกระจัดกระจาย แลวไม่
สามารถท้าให้เกิดอาหารธรรมชาติได้ (ภาพที่ 12)
บ่อที่มีอาหารธรรมชาติมากหรือน้อย จะสังเกตได้โดยการดูสีของน้้าถ้าน้้าใน
่
่
ี
้
บ่อมีสีเขียวแสดงว่ามีอาหารจ้าพวกพืชเล็ก ๆ ปนอยู่มาก แต่ถ้าน้้าในบอมีสคอนขาง
คล้้า มักจะมีอาหารจ้าพวกไรน้้ามาก พวกพืชเล็ก ๆ และไรน้้ามาก พวกพืชเล็ก ๆ และ
ไรน้้าเหล่านั้น นับว่าเป็นอาหารธรรมชาติที่มีประโยชน์ต่อการเลี้ยงปลาเป็นอย่างด ี
ู
2.6 เติมน้้าใส่บ่อทิ้งไว 10–15 วัน อาหารธรรมชาติสาหรบลกปลาจะมี
ั
้
้
ปริมาณเพียงพอ ด้วยการเติมปุ๋ยลงไป
2.7 บ่อเก่าถ้าสูบน้้าออกไม่หมดให้ฆ่าศัตรูพืชปลาด้วยโล่ติ้นหรือหางไหลท ี่
ิ
ั
่
ั
สามารถพบได้โดยทั่วไป หรือกากชา อตรา 5–10 กโลกรมตอบอขนาด 10x10
่
ึ้
ั
ั้
้
ู่
เมตร จะท้าให้ศัตรูปลาตาย ทิ้งไว 5–7 วัน พิษของสารพิษจะสลายตัวทงนี้ขนอยกบ
อุณหภูมิของน้้า ซึ่งอาจนานขึ้นเนื่องจากบนพื้นที่สูงมีอุณหภูมิต่้า
2.8 ในกรณีที่ต้องการปรับปรุงบ่อเก่าหลังการจับปลาและฆ่าศัตรูปลาแล้วแต ่
ไม่ได้ระบายน้้าทิ้งเพราะขาดน้้า ควรใช้ปูนขาวในอัตรา 250–300 กิโลกรัม/ไร ่
ิ่
่
ี่
่
่
2.9 บ่อเก่าที่ปล่อยปลาเพิ่มเตมแตไม่มีการลางบอ ปลาทปลอยลงเพม
ิ
้
็
สามารถปล่อยลงเพิ่มเติม ไม่ควรปล่อยลงทันที เนื่องมาจากมีขนาดเลกมาก จึงควร
่
อนุบาลในกระชังในระยะหนึ่งก่อน เมื่อมีขนาดประมาณ 2 นิ้ว จึงคอยปลอยลงไป
่
ในขณะที่อยู่ในกระชังให้มีการให้อาหารปลาด้วย เพื่อให้ปลาได้เจริญเติบโต ในชวงนี้
่
้
หากมีอาหารพิเศษ เช่นปลวก หรอแมลงทปลาชอบกสามารถใหกนได หรอเปน
ื
ิ
้
็
็
ื
ี่
อาหารเม็ด จะท้าให้ลูกปลาโตด ี
การปล่อยปลาลงเลี้ยง
ก. จ้านวนปลาและชนิดของปลาที่ปล่อย การปลอยปลาลงเลยงจะตองมี
่
ี้
้
ื
ความเหมาะสมไม่หนาแน่นจนเกินไป ขึ้นอยู่กับชนิดของปลา โดยทั่วไปในปลากนพช
ิ
37 การเพาะเลี้ยงปลาบนพื้นที่สูง