Page 46 - คู่มือเลี้ยงปลาบนพื้นที่สูง real 7_7_2018
P. 46
ั
ปัญหาโรคปลาตลอดระยะเวลาที่เลี้ยงสถานที่ตึงกระชังควรตั้งอยู่ในบริเวณที่ก้าบงลม
ั
หรือคลื่นแรง ในกรณีที่เกิดพายุหรือน้้าท่วมโดยเฉียบพลัน การวางกระชังที่ชิดกนมาก
เกินไป ก็มีผลท้าให้น้้าไม่ดีได้เช่นกัน รวมถึงการหมักหมมของของเสีย
2. ปลาที่ปล่อยเลี้ยงควรมีขนาดใหญ่กว่าตาหรือช่องกระชัง หากปลามีขนาด
เล็กหรือเท่ากับขนาด ของช่องกระชัง ปลาจะลอดหนีจากจากกระชังไป หรือถ้าไม่ลอด
ก็จะเข้าไปติดตายอยู่ในระหว่างช่องกระชังได ้
3. ปลาที่เลี้ยงควรมีลักษณะรวมกินอาหารพร้อม ๆ กันในทันททใหอาหาร
ี
้
ี่
ู
ั
เพื่อให้ปลากินอาหารให้ มากที่สุดก่อนที่อาหารจะถกกระแสน้้าพดพาออกไปนอก
กระชัง
4. ในกรณีที่แหล่งน้้าเลี้ยงผิดปกติ เช่น เกิดสารพิษ น้้ามีปรมาณมากหรอ
ิ
ื
ั
น้อยในทันที อาจจะเกิด ปัญหากับปลาที่เลี้ยงซึ่งยากต่อการแก้ไข หากประสบปญหา
ู
ดังกล่าวควรขนย้ายปลาไปเลี้ยงที่อื่น ซึ่งเป็นการยากส้าหรับการเลี้ยงปลาบนพนทสง
ี่
ื้
เนื่องจากมีพื้นที่น้อย
ิ
5. ต้องมีการท้าความสะอาดกระชังบ่อย ๆ เนื่องจากมีตะไคร่เกาะ และเกด
ุ
การอดตัน
6. ไม่ค่อยเหมาะกับการเลี้ยงปลาบนพื้นที่สูงเนื่องจากราคาต้นทุนกระชังสูง
และบ่อมีขนาดเล็ก
7. กระชังอนุบาลจะมีความเหมาะสมกับการเพาะขยายพันธุ์ปลาบนพื้นที่สูง
เนื่องจากมีบ่อเลี้ยงที่ถูกจ้ากัดด้วยพื้นที่ราบ
นิสัยการกินอาหารของปลา
ั
ั
ปลาจะกินอาหารแตกต่างกันไปตามระดับความลึกของน้้า ซึ่งเป็นการปรบตว
เพื่อการอยู่รอดภายในมวลน้้า แบ่งออกเป็น 3 แบบ คือ
1. ปลาที่กินอาหารตามผิวน้้า ได้แก่ ปลานิล ปลาตะเพียนขาว ปลาสลด ปลา
ิ
เฉา ปลาสวาย ปลาแรด และปลาช่อน เป็นต้น
2. ปลาที่กินอาหารกลาง ๆ น้้า ได้แก่ ปลาสวาย ปลาแล่ง ปลาหมอตาล
ิ
3. ปลาที่กินอาหารตามพื้นท้องน้้า เป็นปลาที่กินอาหารจ้าพวกสตวหน้าดน
ั
์
ได้แก่ ปลาหลด ปลาไน ปลาซ่ง และปลาดุก เป็นต้น
42 การเพาะเลี้ยงปลาบนพื้นที่สูง