Page 156 - PIMS_Corporate Standard
P. 156
M4.1.2 ก�รชี้บ่งคว�มเสี่ยง และวิเคร�ะห์ผลกระทบท�งธุรกิจ
องค์กรต้องช้บ่งคว�มเสี่ยง และวิเคร�ะห์ผลกระทบท�งธุรกิจที่อ�จส่งผลกระทบให้ธุรกิจหยุดชะงัก โดยพิจ�รณ�จ�กปัจจัยภ�ยใน
ี
ู
้
์
และปัจจัยภ�ยนอกองค์กร ทิศท�งกลยุทธ เป้�หม�ยที่สำ�คัญ รวมถึงค้นห�คว�มตองก�รและคว�มค�ดหวังของผ้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ที่ส่งผลกระทบต่อผลิตภัณฑ์และบริก�รทั้งที่ดำ�เนินก�รเอง หรือที่จัดห�จ�กผู้ส่งมอบและผู้รับจ้�ง เพื่อชี้บ่งคว�มเสี่ยงที่เป็นไปได้ทั้งหมด ดังนี้
M4.1.2.1 ทำ�คว�มเข้�ใจบริบททั้งภ�ยใน และภ�ยนอกองค์กร ที่เกี่ยวข้องกับกฎหม�ย กฎระเบียบ ข้อบังคับ แนวปฏิบัติ พันธสัญญ�
ก�รกำ�กับดูแล โครงสร้�งองค์กร ตัวขับเคลื่อนที่สำ�คัญ ก�รเงิน เทคโนโลยี เศรษฐกิจ สังคม สภ�พก�รแข่งขันท�งธุรกิจ
และแนวโน้มที่จะมีผลกระทบทั้งเชิงบวก และเชิงลบต่อวัตถุประสงค์ขององค์กร ทิศท�งกลยุทธ์ และคว�มส�ม�รถขององค์กร
M4.1.2.2 ทำ�คว�มเข้�ใจคว�มค�ดหวัง และคว�มต้องก�รของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องแต่ละกลุ่ม รวมถึง มุมมองของผู้มีส่วนได้
ส่วนเสีย และคุณค่�ขององค์กรที่มีต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ต�ม M1
M4.1.2.3 พิจ�รณ�คว�มเสี่ยงทั้งในระยะสั้น ระยะย�ว รวมถึงคว�มเสี่ยงใหม่ที่ค�ดว่�จะเกิดภ�ยในเวล� 3-5 ปี
M4.1.3 ก�รกำ�หนดเกณฑ์ เครื่องมือชี้บ่งคว�มเสี่ยง
ี
ื
ี
องค์กรต้องกำ�หนดเกณฑ์ และเคร่องมือที่จะใช้ในก�รช้บ่งคว�มเส่ยงที่สำ�คัญ โดยประยุกต์ใช้วิธีก�รและเทคนิคก�รช้บ่งคว�มเสี่ยง
ี
ให้เหม�ะสมกับวัตถุประสงค์ ขีดคว�มส�ม�รถ และคว�มเสี่ยงที่เผชิญอยู่ โดยคำ�นึงถึง
M4.1.3.1 มุมมองของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ลักษณะองค์กร คว�มรุนแรงที่อ�จเกิดขึ้น
M4.1.3.2 กำ�หนดโอก�ส และช่วงเวล�ของโอก�ส
M4.1.3.3 กำ�หนดเกณฑ์ประเมินระดับคว�มรุนแรง หรือผลกระทบแยกร�ยปัจจัยเสี่ยง
M4.1.3.4 เครื่องมือหรือวิธีที่เหม�ะสมในก�รชี้บ่งคว�มเสี่ยง
M4.1.3.5 กำ�หนดขอบเขตระดับของคว�มเส่ยงสูงสุดที่ยอมรับได้ เพื่อนำ�ไปใช้ในก�รจัดลำ�ดับคว�มเสี่ยง และกำ�หนดเป้�หม�ยระดับ
ี
คว�มรุนแรงที่ค�ดหวังในทุกประเด็นคว�มเสี่ยง
156