Page 60 - PIMS_Corporate Standard
P. 60

B3.2.4 ก�รว�งแผนและดำ�เนินก�รบำ�รุงรักษ� (Maintenance Planning and Execution)
                     องค์กรต้องว�งแผนและดำ�เนินก�รบำ�รุงรักษ�ต�มแผนที่ว�งไว้ โดยในก�รว�งแผนให้พิจ�รณ�โอก�สของก�รบำ�รุงรักษ�เชิงรับ
                     (Reactive Maintenance) ก�รจัดลำ�ดับคว�มสำ�คัญของง�น ก�รติดต�ม และก�รจัดสรรทรัพย�กรให้เหม�ะสมคุ้มค่� รวมทั้งฝึกอบรม
                     ข้นตอนก�รปฏิบัติง�นบำ�รุงรักษ� ภ�พรวม และอันตร�ยที่เก่ยวกับกระบวนก�รผลิต ตลอดจนมีก�รบริห�รจัดก�รสำ�รองอะไหล่ให้สอดคล้อง
                                                               ี
                       ั
                     กับแผนก�รบำ�รุงรักษ� มีก�รตรวจสอบว่�วัสดุที่นำ�ม�ใช้ในก�รซ่อมบำ�รุง ชิ้นส่วนสำ�รอง หรือ อะไหล่ มีคว�มเหม�ะสมด้วย
               B3.2.5 ก�รบริห�รก�รซ่อมใหญ่ (Turnaround Management)
                                                  ่
                                                      ั
                                                                                                 ้
                                    ิ
                                                                                                                    ่
                         ์
                            ้
                                                                   ิ
                                                                                                    ี
                                                                        ื
                                                                     ่
                                                                                                ่
                     องคกรตองมีก�รบรห�รก�รซ่อมใหญสำ�หรบกระบวนก�รผลตตอเนอง (Continuous Process) ทีตองมก�รหยุดก�รเดินเครอง
                                                                                                                    ื
                                                                        ่
                                                                                                                   ุ
                     เพื่อทำ�ก�รบำ�รุงรักษ�ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ท�งธุรกิจ รวมทั้งมีก�รพิจ�รณ�ด้�นคว�มปลอดภัย ประสิทธิภ�พ คว�มค้มค่�
                     ภ�ยในระยะเวล�ที่กำ�หนด
               B3.2.6 ก�รบำ�รุงรักษ�เชิงรับ (Reactive Maintenance)
                     องค์กรต้องกำ�หนดให้มีกระบวนก�รบำ�รุงรักษ�เชิงรับ เพื่อซ่อมแซมเครื่องจักรอุปกรณ์ที่ทำ�ง�นผิดปกติ หรือ บกพร่องเกินขีดจำ�กัดที่ยอมรับได้
                     ต�มที่ระบุไว้ในข้อมูลคว�มปลอดภัยกระบวนก�รผลิต ให้ส�ม�รถกลับม�ใช้ง�นได้ต�มปกติ และมีคว�มพร้อมสมบูรณ์ อย่ในสภ�วะ
                                                                                                               ู
                     ที่ทำ�ง�นได้อย่�งปลอดภัย และตรงต�มหน�ท่ที่กำ�หนดไว้ โดยมีก�รวิเคร�ะห์ห�ส�เหตุคว�มผิดปกติอย่�งเป็นระบบ จนส�ม�รถระบุส�เหต ุ
                                                   ้
                                                     ี
                     ที่แท้จริง และกำ�หนดม�ตรก�รแก้ไขที่เหม�ะสม
               B3.2.7 ก�รทบทวนก�รบำ�รุงรักษ�และก�รปรับปรุงพัฒน� (Maintenance Review and Improvement)
                     องค์กรต้องทบทวนก�รบำ�รุงรักษ�อย่�งเป็นระบบ เพื่อให้ก�รบำ�รุงรักษ�มีประสิทธิภ�พ ประสิทธิผล เป็นไปต�มกลยุทธ์และวัตถุประสงค์
                                                                                                      ื
                     ของก�รปฏิบัติก�รและก�รบำ�รุงรักษ� รวมทั้งมีก�รปรับปรุงพัฒน�กระบวนก�ร วิธีก�ร บำ�รุงรักษ�อย่�งต่อเน่อง โดยบริห�รจัดก�ร
                                                      ั
                     เคร่องจักรอุปกรณ์ต้งแต่เร่มต้นออกแบบ ติดต้ง (Early Equipment Management) ติดต�มและทบทวนผลก�รดำ�เนินง�นบำ�รุงรักษ�
                        ื
                                    ั
                                        ิ
                     ต�มตัวชี้วัดของก�รบำ�รุงรักษ� และรวบรวมองค์คว�มรู้ ข้อมูลในก�รบำ�รุงรักษ�
        B3.3   ก�รจัดก�รก�รเปลี่ยนแปลง (Management of Change : MoC)
               องค์กรต้องจัดก�รก�รเปลี่ยนแปลงทั้งกรณีถ�วรและช่วคร�วที่เก่ยวข้องกับกระบวนก�รผลิต  ก�รปฏิบัติก�รผลิต  และก�รบำ�รุงรักษ�
                                                        ั
                                                                ี
               เพื่อควบคุมคว�มเสี่ยงจ�กก�รเปลี่ยนแปลงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ หรือต่ำ�ที่สุดเท่�ที่จะดำ�เนินก�รได้อย่�งสมเหตุสมผล จนส�ม�รถปฏิบัติก�รผลิต
               หรือบำ�รุงรักษ�ได้อย่�งปลอดภัย (As Low As Reasonably Practicable : ALARP)
               B3.3.1 ระบบก�รจัดก�รก�รเปลี่ยนแปลง (MoC System)
                     องค์กรต้องกำ�หนดให้มีก�รจัดก�รก�รเปลี่ยนแปลงอย�งเป็นระบบ ซึ่งนำ�ไปใช้กับก�รเปล่ยนแปลงในกระบวนก�รผลิต เทคโนโลยี เคร่องจักร
                                                                                                                 ื
                                                                                   ี
                                                           ่
                     อุปกรณ์ ส�รเคมี ซอฟต์แวร์ พนักง�น ขั้นตอนก�รปฏิบัติง�น และอ�ค�รสถ�นที่ที่ใช้ในกระบวนก�รผลิต (Facility) รวมทั้งส่วนสนับสนุน
                     ก�รผลิต (Utility) ที่มีผลกระทบต่อคว�มปลอดภัยกระบวนก�รผลิต โดยพิจ�รณ�จ�กประเภทของก�รเปลี่ยนแปลง (Type of Change)
                     ระยะเวล�ของก�รเปลี่ยนแปลง (Length of Change) คว�มเร่งด่วนในก�รดำ�เนินก�ร (Priority of change) และระดับคว�มเสี่ยง
                     ที่เกิดจ�กก�รเปลี่ยนแปลง (Level of Risk)



     60
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65