Page 32 - teachingscope2561_Neat
P. 32

๓๐


           ๗. จิตฺตํ  รกฺเขถ  เมธาวี.           เมื่อมีจิตไม่มั่นคง  ไม่รู้พระสัทธรรม   ในผัสสะทั้งหลาย  ย่อมไม่ถูกชักนําไปในทิฏฐิ
              ผู้มีปัญญาพึงรักษาจิต.          มีความเลื่อมใสเลื่อนลอย  ปัญญาย่อมไม่ ทั้งหลาย.

              ขุ. ธ. ๒๕/๑๙.                   บริบูรณ์.                            (พุทฺธ)    ขุ. สุ. ๒๕/๕๐๐.,  ขุ. มหา. ๒๙/
                                                 (พุทฺธ)     ขุ. ธ. ๒๕/๒๐.       ๒๖๔, ๒๖๗.
           ๓. สีลวรรค คือ หมวดศีล
           ๘.  สีลํ  โลเก  อนุตฺตรํ.          ๕.  ผนฺทนํ จปลํ จิตฺตํ    ทุรกฺขํ ทุนฺนิวารยํ   ๒. จิตตวรรค คือ หมวดจิต

              ศีลเป็นเยี่ยมในโลก.                 อุชุํ กโรติ เมธาวี      อุสุกาโรว เตชนํ.   ๕. อนวสฺสุตจิตฺตสฺส    อนนฺวาหตเจตโส
              ขุ. ชา. เอก. ๒๗/๒๘.               คนมีปัญญาทําจิตที่ดิ้นรน  กวัดแกว่ง      ปุญฺญปาปปหีนสฺส   นตฺถิ  ชาครโต ภยํ.
                                              รักษายาก  ห้ามยากให้ตรงได้  เหมือนช่าง    ผู้มีจิตอันไม่ชุ่มด้วยราคะ  มีใจอันโทสะ
           ๙. สีลํ  รกฺเขยฺย  เมธาวี.
                                              ศรทําลูกศรให้ตรงได้ฉะนั้น.         ไม่กระทบแล้ว  มีบุญและบาปอันละได้แล้ว
             ปราชญ์พึงรักษาศีล.
                                                (พุทฺธ)     ขุ. ธ. ๒๕/๑๙.        ตื่นอยู่  ย่อมไม่มีภัย.
             ขุ. อิติ. ๒๕/๒๘๒.
                                                                                   (พุทฺธ)     ขุ. ธ. ๒๕/๒๐.
                                              ๖.  ยถา อคารํ ทุจฺฉนฺนํ  วุฏฺฐี สมติวิชฺฌติ
           ๑๐. สํวาเสน  สีลํ  เวทิตพฺพํ.
                                                  เอวํ อภาวิตํ จิตฺตํ    ราโค สมติวิชฺฌติ.      ๖.  กุมฺภูปมํ  กายมิมํ  วิทิตฺวา
              ศีลพึงรู้ได้เพราะอยู่ร่วมกัน.
                                                 ฝ น ย่อมรั่วรดเรือนที่มุงไม่ดีฉันใด         นครูปมํ  จิตฺตมิทํ  ถเกตฺวา
              นัย- ขุ. อุ. ๒๕/๑๗๘.            ราคะย่อมรั่วรดจิตที่ไม่ได้อบรมฉันนั้น.         โยเธถ  มารํ  ปญฺญาวุเธน

                                                (พุทฺธ)     ขุ. ธ. ๒๕/๑๖.              ชิตญฺจ  รกฺเข  อนิเวสโน  สิยา.
                                                                                   บุคคลรู้กายนี้ที่เปรียบด้วยหม้อ  กั้นจิตที่
                                              ๗.เสโล ยถา เอกฆโน  วาเตน น สมีรติ
                                                                                 เปรียบด้วยเมืองนี้แล้ว  พึงรบมารด้วยอาวุธ
                                                 เอวํ นินฺทาปสํสาสุ  น สมิญฺชนฺติ ปณฺฑิตา.
                                                                                 คือปัญญา  และพึงรักษาแนวที่ชนะไว้  ไม่พึง
                                                ภูเขาหินแท่งทึบ  ไม่สั่นสะเทือนเพราะลม
                                                                                 ยับยั้งอยู่.
                                              ฉันใด  บัณฑิตย่อมไม่หวั่นไหวในนินทา
                                                                                   (พุทฺธ)     ขุ. ธ. ๒๕/๒๐.
                                              และสรรเสริญฉันนั้น.
                                                (พุทฺธ)     ขุ. ธ. ๒๕/๒๕.
                                                                                  ๗.สุทุทฺทสํ สุนิปุณํ      ยตฺถ กามนิปาตินํ

                                                                                    จิตฺตํ รกฺเขถ เมธาวี   จิตฺตํ คุตฺตํ สุขาวหํ.
                                              ๓. ธัมมวรรค คือ หมวดธรรม
                                              ๘.ขตฺติยา พฺราหฺมณา เวสฺสา สุทฺทา จณฺฑาลปุกฺกุสา     ผู้มีปัญญา  พึงรักษาจิตที่เห็นได้ยากนัก
                                                 อิธ  ธมฺมํ  จริตฺวาน       ภวนฺติ  ติทิเว  สมา.  ละเอียดนัก  มักตกไปในอารมณ์ที่น่าใคร่

                                                กษัตริย์  พราหมณ์  แพทย์  ศูทร  (เพราะว่า)  จิตที่คุ้มครองแล้ว  นําสุขมาให้.
                                              จัณฑาล  และคนงานชั้นตํ่า  ประพฤติ    (พุทฺธ)     ขุ. ธ. ๒๕/๑๙.

                                              ธรรมในโลกนี้แล้ว  ย่อมเป็นผู้เสมอกันใน
                                                                                 ๓. สามัคคีวรรค คือ หมวดสามัคคี
                                              สวรรค์ชั้นไตรทิพย์.
                                                                                 ๘. วิวาทํ ภยโต ทิสฺวา    อวิวาทญฺจ เขมโต
                                                 (สีลวีมงฺสชาตก)  ขุ. ชา. ๒๗/๗๖/๑๗๕.
                                                                                     สมคฺคา สขิลา โหถ    เอสา พุทฺธานุสาสนี.
                                              ๙. โย อิจฺเฉ ทิพฺพโภคญฺจ ทิพฺพมายุํ ยสํ สุขํ     ท่านทั้งหลายจงเห็นความวิวาทโดย

                                                  ปาปานิ ปริวชฺเชตฺวา    ติวิธํ ธมฺมมาจเร.
                                                                                 ความเป็นภัย   และความไม่วิวาทโดยความ
                                                ผู้ใด ปรารถนาโภคทรัพย์ อายุ ยศ สุข
                                                                                 ปลอดภัยแล้ว   เป็นผู ้พร้อมเพรียง   มี
                                              อันเป็นทิพย์  ผู้นั้นพึงงดเว้นบาปทั้งหลาย
                                                                                 ความประนีประนอมกันเถิด   นี้เป็น
                                              แล้วประพฤติสุจริตธรรม ๓ อย่าง.
                                                                                 พระพุทธานุศาสนี.
                                                 (ราชธีตา)     ขุ. ชา. มหา. ๒๘/๓๐๖.
                                                                                   (พุทฺธ)     ขุ. จริยา. ๓๓/๕๙๕.
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37