Page 44 - Annual Report 2551
P. 44
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ หรือสถาบัน ภายใต้พระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ
การเงินของรัฐกู้ต่อ เพื่อนำเงินไปใช้ตามแผนงานที่มี (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 กำหนดให้กระทรวงการคลัง
ความจำเป็นเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ทั้งนี้ เพื่อเป็น สามารถจัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่งเรียกว่า
การประหยัดและทำให้การบริหารหนี้มีประสิทธิภาพ “กองทุนบริหารเงินกู้เพื่อการปรับโครงสร้างหนี้สาธารณะ
มากขึ้น โดยการให้กู้ต่อต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และพัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศ” โดยมีฐานะ
และเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง (3) ให้กระทรวง เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่เป็นส่วนราชการตามกฎหมาย
การคลังสามารถกู้เงินเพื่อพัฒนาตลาดตราสารหนี้ ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน หรือรัฐวิสาหกิจ
ในประเทศได้ โดยการออกตราสารหนี้เพื่อใช้ในการสร้าง ตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณหรือกฎหมายอื่น
อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงในตลาด เนื่องจากตราสารหนี้ที่ กองทุนฯ นี้จัดตั้งโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อบริหารเงิน
สามารถใช้เป็นอัตราอ้างอิงได้จะต้องมีสภาพคล่อง ที่ได้รับจาก (1) การกู้เงินเพื่อปรับโครงสร้างหนี้สาธารณะ
สามารถซื้อขายได้ง่าย ราคาของตราสารหนี้จึงจะสามารถ ในกรณีที่หนี้มีจำนวนเงินมากและไม่สมควรกู้เงินเพื่อปรับ
สะท้อนถึงอุปทานและอุปสงค์ในตลาดได้ใกล้เคียงความ โครงสร้างในคราวเดียว กระทรวงการคลังสามารถ
เป็นจริงมากที่สุด การแก้พระราชบัญญัติในครั้งนี้เป็น ทยอยกู้เงินเป็นการล่วงหน้าได้ไม่เกิน 12 เดือน
การสร้างความมั่นใจให้แก่ผู้ร่วมตลาด ไม่ว่าจะเป็น ก่อนวันที่หนี้ครบกำหนดชำระ และ (2) การกู้เงิน
นักลงทุนหรือผู้ระดมทุนว่าจะมีอุปทานพันธบัตรรัฐบาล เพื่อพัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศจากการออก
ในตลาดอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอแม้รัฐบาลจะดำเนิน พันธบัตร Benchmark เพื่อช่วยลดต้นทุนในการกู้เงิน
นโยบายการคลังแบบสมดุลหรือเกินดุล ซึ่งจะส่งผลให้ ให้น้อยที่สุด
การพัฒนาตลาดเป็นไปอย่างต่อเนื่องไม่หยุดชะงัก และ คณะกรรมการกองทุนฯ ประกอบไปด้วยปลัดกระทรวง
(4) ให้กระทรวงการคลังจัดตั้งกองทุนบริหารเงินกู้ การคลังในฐานะประธาน กรรมการ และมีผู้แทนจากสำนัก
เพื่อการปรับโครงสร้างหนี้สาธารณะและการพัฒนาตลาด งบประมาณ กรมบัญชีกลาง สำนักงานคณะกรรมการ
ตราสารหนี้ในประเทศ โดยนำงินที่ได้จากการออกพันธบัตร นโยบายรัฐวิสาหกิจ สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง
เพื่อปรับโครงสร้างหนี้และเพื่อพัฒนาตลาดตราสารหนี้ ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการ
ในประเทศมาใช้จ่ายเพื่อเป็นการลงทุนทั้งในประเทศ กำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตลาดหลักทรัพย์
และต่างประเทศได้ แห่งประเทศไทยในฐานะกรรมการ และมีผู้อำนวยการ
5. การจัดตั้งกองทุนบริหารเงินกู้เพื่อการปรับ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะเป็นกรรมการและเลขานุการ
โครงสร้างหนี้สาธารณะและการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ และเป็นผู้จัดการกองทุนฯ ตามพระราชบัญญัติฯ โดย
ในประเทศ กองทุนฯ สามารถลงทุนได้ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
โดยมีกรอบการลงทุน ดังนี้
กรอบการลงทุนในประเทศ กรอบการลงทุนต่างประเทศ
043
• ลงทุนในตราสารหนี้ที่ออกหรือค้ำประกัน • ลงทุนในตราสารหนี้ที่ออกเป็นเงินตราสกุลหลักและ
โดยกระทรวงการคลังหรือตราสารอื่นที่ได้รับ ออกหรือค้ำประกันโดยรัฐบาลต่างประเทศ สถาบัน
การจัดอันดับความน่าเชื่อถือสูงสุด การเงินของรัฐบาลต่างประเทศหรือสถาบันการเงิน
• ทำธุรกรรมซื้อโดยมีสัญญาจะขายคืน (Reverse ระหว่างประเทศ ซึ่งได้รับการจัดอันดับความน่าเชื่อถือ
REPO) ซึ่งตราสารหนี้ที่ออกโดยกระทรวงการคลัง สูงสุด
• สามารถทำธุรกรรมเพื่อป้องกันความเสี่ยงที่ • สามารถทำธุรกรรมเพื่อป้องกันความเสี่ยงที่เกิด
เกิดจากการลงทุนได้ จากการลงทุนได้
ขณะนี้ สบน. อยู่ระหว่างจัดทำระเบียบและข้อบังคับ ธุรกรรมต่างๆ ของกองทุนฯ เพื่อรองรับการดำเนินงาน ANNUAL REPORT 2008 รายงานประจำปี 2551
ที่เกี่ยวข้องในการบริหารงาน การปฏิบัติงาน และการทำ ตามภารกิจของกองทุนฯ
PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE