Page 63 - Annual Report 2551
P. 63
สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2551
หมายเหตุที่ 1 – ข้อมูลทั่วไป
1.1 ความเป็นมา
สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) เป็น อย่างมีระบบ มีประสิทธิภาพ และควบคุมดูแลการ
ส่วนราชการในระดับกรม สังกัดกระทรวงการคลังจัดตั้งขึ้น ก่อหนี้โดยรวม เพื่อให้ภาระหนี้สาธารณะอยู่ในระดับที่
เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2545 ตามพระราชบัญญัติปรับปรุง สอดคล้องกับฐานะการเงินการคลังของประเทศ
กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 ซึ่งกำหนดให้กระทรวงการคลังเป็นผู้มีอำนาจในการ
สบน. เป็นองค์กรที่มีภารกิจเสนอแนะนโยบาย กู้เงินหรือค้ำประกันในนามรัฐบาลแต่เพียงผู้เดียว
รวมทั้งดำเนินการก่อหนี้และบริหารหนี้สาธารณะ โดยอนุมัติคณะรัฐมนตรีกำหนดให้มีคณะกรรมการ
โดยคำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของประเทศ โดยมีบทบาท นโยบายและกำกับการบริหารหนี้สาธารณะ ซึ่งมีอำนาจ
ด้านงานบริหารจัดการหนี้สาธารณะในฐานะหน่วยงาน หน้าที่รายงานสถานะหนี้สาธารณะเสนอแผนก
(Agency) ซึ่งดำเนินการตามภารกิจเช่นเดียวกับ การบริหารหนี้สาธารณะจัดทำหลักเกณฑ์ในการ
ส่วนราชการอื่นและงานบริหารหนี้สาธารณะในฐานะ บริหารหนี้ แนะนำการออกกฎกระทรวงและดำเนิน
หน่วยงานกลาง (Core Agency) ซึ่งประกอบไปด้วยการ การอื่น
ก่อหนี้ที่กระทรวงการคลังได้ผูกพันในฐานะผู้กู้ในนาม สบน. มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับกิจการทั่วไปของ
รัฐบาลของราชอาณาจักรไทยทั้งหนี้ในประเทศและ คณะกรรมการ และมีอำนาจหน้าที่ในการศึกษาวิเคราะห์
ต่างประเทศการบริหารจัดการหนี้รวมถึงการบริหาร โครงสร้างหนี้สาธารณะ หนี้รัฐวิสาหกิจที่ทำธุรกิจ
การชำระหนี้ ให้กู้ยืมเงินและสถาบันการเงินภาครัฐที่กระทรวงการคลัง
062 ในปี 2548 มีการประกาศใช้ “พระราชบัญญัติ ไม่ได้ค้ำประกัน รวบรวมข้อมูลประมาณการ
การบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548” ประกาศใน ความต้องการเงินภาครัฐและการบริหารหนี้สาธารณะ
ราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2548 และมี เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการดำเนินการเกี่ยวกับการ
ผลใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจ- บริหารหนี้สาธารณะ ให้คำปรึกษาแนะนำ ส่งเสริม
จานุเบกษาเป็นต้นไป เหตุผลในการประกาศใช้พระราช- หน่วยงานของรัฐในการบริหารจัดการหนี้ ติดตามการ
บัญญัติฉบับนี้ เพื่อให้การบริหารหนี้สาธารณะ ปฏิบัติตามสัญญาและประเมินผลการใช้จ่ายเงินกู้
มีประสิทธิภาพ ซึ่งเดิมได้บัญญัติไว้ในกฎหมาย ปฏิบัติงานธุรการของคณะกรรมการและดำเนินการ
หลายฉบับและสมควรให้มีหน่วยงานกลางเป็นหน่วยงาน อื่น
เดียวทำหน้าที่รับผิดชอบในการบริหารหนี้สาธารณะ
PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE
PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE
สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ