Page 64 - Annual Report 2551
P. 64
1.2 การนำเสนอรายงาน 2.9 เจ้าหนี้ บันทึกรับรู้เจ้าหนี้จากการซื้อสินค้า
รอบระยะเวลาบัญชี ใช้ปีงบประมาณเป็นเกณฑ์ หรือบริการ เมื่อหน่วยงานได้ตรวจรับสินค้าหรือ
คือเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม ของปีหนึ่ง ถึงวัน ที่ 30 บริการจากผู้ขายแล้วแต่ยังไม่ได้ชำระเงิน และสามารถ
กันยายน ของปีถัดไป ข้อมูลในรายงานการเงินฉบับนี้ ระบุมูลค่าสินค้าหรือบริการได้ชัดเจน
เป็นรายงานที่ปรับปรุงรายการที่คลาดเคลื่อนในกระดาษ 2.10 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เกิดขึ้นจากข้อกำหนด
ทำการด้วยมือ และใช้รูปแบบรายงานการเงิน ของกฎหมาย ข้อตกลงในสัญญา หรือจากบริการที่ได้รับ
ตามที่กรมบัญชีกลางกำหนด ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง เช่น เงินเดือนหรือค่าจ้างค้างจ่าย ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน
ที่ กค 0423.2/ว410 ลงวันที่ 21 พฤศจิกายน 2551 ค้างจ่ายและดอกเบี้ยค้างจ่าย เป็นต้น โดยการ
ประมาณค่าตามระยะเวลาที่เกิดค่าใช้จ่ายนั้นๆ
หมายเหตุที่ 2 – สรุปนโยบายการบัญชี สำหรับใบสำคัญค้างจ่ายจะรับรู้เมื่อได้รับใบขอเบิก
ที่สำคัญ เงินจากข้าราชการ พนักงานราชการ หรือลูกจ้าง รวมถึง
2.1 หลักการบัญชี งบการเงินนี้จัดทำขึ้นตาม การรับใบสำคัญที่ทดรองจ่ายจากเงินทดรองราชการ
เกณฑ์คงค้าง (Accrual basis) โดยเป็นไปตาม 2.11 รายได้รับล่วงหน้า บันทึกรับรู้รายได้รับ
ข้อกำหนดในหลักการและนโยบายบัญชี สำหรับ ล่วงหน้าเมื่อได้รับเงินตามจำนวนการใช้จ่ายเงิน รวมถึง
หน่วยงานภาครัฐ ฉบับที่ 2 ตามประกาศกระทรวงการคลัง การรับเงินสนับสนุน
เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2546 2.12 เงินกู้ระยะสั้น เป็นเงินกู้ที่กระทรวงการคลัง
2.2 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เช่น กู้ในนามรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทย ซึ่งเป็นส่วน
เช็ค ตั๋วแลกเงินสด เป็นต้น รับรู้ตามมูลค่าที่ตราไว้ ของงานหนี้สาธารณะ ประกอบด้วย
เงินทดรองราชการบันทึกรับรู้เมื่อได้รับเงินควบคู่ไปกับการ 1) เงินกู้ในประเทศ ได้แก่ เงินกู้เกิดจากการออก
บันทึกเงินทดรองราชการรับเงินจากคลังระยะยาว ตั๋วเงินคลังและส่วนที่จะครบกำหนดชำระภายในหนึ่งปี
2.3 ลูกหนี้เงินยืม บันทึกรับรู้ตามจำนวนเงิน ของตั๋วสัญญาใช้เงินและพันธบัตรรัฐบาล
ในสัญญายืม ไม่ว่าจะจ่ายจากเงินงบประมาณหรือ 2) เงินกู้ต่างประเทศ ได้แก่ ตั๋ว Euro
เงินนอกงบประมาณ Commercial Paper (ECP) และส่วนที่จะครบกำหนด
2.4 ลูกหนี้ระยะยาว เป็นเงินให้ยืมแก่รัฐวิสาหกิจ ชำระภายในหนึ่งปีของ Samurai Bond และเงินกู้
บันทึกรับรู้ตามจำนวนเงินในสัญญากู้เงิน ตามสัญญากู้เงินที่เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศ
2.5 วัสดุคงคลัง แสดงในราคาทุน โดยตีราคาวัสดุ 2.13 เงินกู้ระยะยาว เป็นเงินกู้ที่กระทรวงการคลัง
คงเหลือตามวิธีเข้าก่อนออกก่อน กู้ในนามรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทย ซึ่งเป็นส่วน
2.6 อุปกรณ์ (สุทธิ) เป็นสินทรัพย์ที่มีมูลค่า ของงานหนี้สาธารณะ ประกอบด้วย
ต่อหน่วย ต่อชุดหรือต่อกลุ่ม ตั้งแต่ 30,000 บาท ขึ้นไป 1) เงินกู้ในประเทศ ได้แก่ เงินกู้เกิดจากการออก
เฉพาะที่ซื้อหรือได้มาตั้งแต่ปีงบประมาณ 2540 - 2545 ตั๋วสัญญาใช้เงิน และพันธบัตรรัฐบาล รับรู้ตามจำนวน
สำหรับรายการที่จัดซื้อหรือได้มาในปีงบประมาณ 2546 เงินที่ตราไว้ ส่วนเกินมูลค่าพันธบัตรและส่วนต่ำกว่า 063
เป็นต้นไป จะรับเฉพาะที่มีมูลค่าตั้งแต่ 5,000 บาท มูลค่าพันธบัตรได้มีการตกลงกับกรมบัญชีกลาง
ขึ้นไป โดยแสดงราคาทุนหักด้วยค่าเสื่อมราคาสะสม โดยทยอยรับรู้เป็นดอกเบี้ยจ่ายตามอายุพันธบัตร
2.7 รายได้จากเงินงบประมาณค้างรับ บันทึกเป็น โดยวิธีเส้นตรง
รายได้จากเงินงบประมาณค้างรับ ณ วันที่จัดทำ
รายงานหรือ ณ สิ้นปีงบประมาณ ตามจำนวนเงิน 2) เงินกู้ต่างประเทศ ได้แก่ เงินกู้ที่เกิดจากการ
งบประมาณที่ยังไม่ได้รับตามฎีกาเหลื่อมจ่าย ออก Samurai Bond และเงินกู้ตามสัญญากู้เงินที่เป็น ANNUAL REPORT 2008
2.8 รายได้ค้างรับ บันทึกตามจำนวนเงินที่ยังไม่ สกุลเงินตราต่างประเทศ รายงานประจำปี 2551
ได้รับจนถึงสิ้นปีงบประมาณ
PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE