Page 33 - เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
P. 33
26 | ห น้ า
เรื่องที่ 2 การจัดทําแผนชุมชน
การแกปญหาชุมชนที่เปนรูปแบบและขั้นตอน นาจะใชการแกปญหาในรูปแบบชุมชนโดยชุมชนจะ
ตองมีคณะทํางานที่มาจากหลายภาคสวน เขามามีสวนรวมในการแกปญหาของชุมชนดวยตนเอง โดยนํา
เอาปญหา และประการณของชุมขน มาวิเคราะห จัดลําดับและแนวทางการแกไข มารวมกันพิจารณา
ปญหาในบางเรื่อง ชุมชนสามารถแกไขไดดวยตนเอง ปญหาใหญๆ และซับซอนอาจตองจัดทําเปนโครงการ
ประสานงาน หนวยงาน องคการภาครัฐ หรือองคกรปกครองสวนทองถิ่นหรือหนวยงานที่มีการรับผิดชอบ
และมีศักยภาพโดยตรง ตลอดจนโครงการของรัฐบาล
การจัดทําแผนชุมชนนาจะเปนเนื้อหา สาระหนึ่งที่ ชุมชนจะตองไดรับการฝกฝน เพราะใน
ปจจุบันนี้ ทางราชการไดใชแนวทางของแผนชุมชนเปนแนวทางในการพัฒนา ไมวาจะเปนโครงการ
กองทุนเศรษฐกิจพอเพียง โครงการ SML และโครงการขององคการตางๆ แมกระทั่ง องคการปกครองสวน
ทองถิ่น
เรื่องที่ 3 การประยุกตใชเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อแกปญหาชุมชน
ดานจิตใจ มีจิตใจเขมแข็ง พึ่งตนเองได / มีจิตสํานึกที่ดี / เอื้ออาทร / ประนีประนอม นึกถึงผล
ประโยชนสวนรวมเปนหลัก
ดานสังคม ชวยเหลือเกื้อกูลกัน / รูรักสามัคคี / สรางความเขมแข็งใหครอบครัวและชุมชน
ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รูจักใชและจัดการอยางฉลาดและรอบคอบ / เลือกใช
ทรัพยากรที่มีอยูอยางคุมคาและเกิดประโยชนสูงสุด / ฟนฟูทรัพยากรเพื่อใหเกิดความยั่งยืนสูงสุด
ดานเทคโนโลย ี รูจักใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคลองกับความตองการและสภาพแวดลอม
(ภูมิสังคม) / พัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปญญาชาวบานเองกอน / กอใหเกิดประโยชนกับคนหมูมาก
การประยุกตใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
- โดยพื้นฐานก็คือ การพึ่งพาตนเอง เปนหลัก การทําอะไรเปนขั้นตอน รอบคอบ ระมัดระวัง
- พิจารณาถึงความพอดี พอเหมาะพอควร ความสมเหตุสมผลและการพรอมรับความ
เปลี่ยนแปลง
- การสรางสามัคคีในเกิดขึ้นบนพื้นฐานของความสมดุลในแตละสัดสวนแตละระดับ
- ครอบคลุมทั้งดานจิตใจ สังคม เทคโนโลยีทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมรวมถึงเศรษฐกิจ
การจัดระเบียบชุมชน
1. การชวยตนเอง (Self – help) หมายถึงการเปลี่ยนแปลงที่ชุมชนคนหาปญหา รับสมัครสมาชิก
และใหบริการกันเอง โดยรับความชวยเหลือจากภายนอกใหนอยที่สุด