Page 9 - เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
P. 9

2 | ห น้ า




               เรื่องที่  1  ความเปนมา ความหมาย หลักแนวคิด


               ความเปนมา


                      พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชไดพัฒนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

               เพื่อที่จะใหพสกนิกรชาวไทยไดเขาถึงทางสายกลางของชีวิตและเพื่อคงไวซึ่งทฤษฎีของการพัฒนาที่ยั่งยืน
               ทฤษฎีนี้เปนพื้นฐานของการดํารงชีวิตซึ่งอยูระหวาง  สังคมระดับทองถิ่นและตลาดระดับสากล

               จุดเดนของแนวปรัชญานี้คือ แนวทางที่สมดุล โดยชาติสามารถทันสมัย และกาวสูความเปนสากลได โดย

               ปราศจากการตอตานกระแสโลกาภิวัฒน  ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีความสําคัญในชวงป พ.ศ. 2540 เมื่อปที่
               ประเทศไทยตองการรักษาความมั่นคงและเสถียรภาพเพื่อที่จะยืนหยัดในการพึ่งตนเองและพัฒนานโยบายที่

               สําคัญเพื่อการฟนฟูเศรษฐกิจ  ของประเทศโดยการสรางแนวคิดเศรษฐกิจที่พึ่งตนเองได  ซึ่งคนไทยจะ
               สามารถเลี้ยงชีพโดยอยูบนพื้นฐานของความพอเพียงพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวมีพระราชดําริวา

               “มันไมไดมีความจําเปนที่เราจะกลายเปนประเทศอุตสาหกรรมใหม (NIC)”  พระองคไดทรงอธิบายวา

               ความพอเพียงและการพึ่งตนเอง  คือ  ทางสายกลางที่จะปองกันการเปลี่ยนแปลงความไมมั่นคงของ
               ประเทศได

                       เศรษฐกิจพอเพียงเปนปรัชญาที่ชี้แนวทางการดํารงอยูและปฏิบัติตน ที่พระบาทสมเด็จพระ

               ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระราชดํารัสแกพสกนิกรชาวไทยมาตั้งแตป พ.ศ. 2517  มีใจความวา
               “...การพัฒนาประเทศจําเปนตองทําตามลําดับขั้น ตองสรางพื้นฐาน คือ ความพอมี พอกิน พอใช

               ของประชาชนสวนใหญเปนเบื้องตนกอนโดยใชวิธีการและใชอุปกรณที่ประหยัด แตถูกตองตามหลักวิชา
               เมื่อไดพื้นฐานมั่นคงพรอมพอควร และปฏิบัติไดแลว จึงคอยสรางคอยเสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกิจ

               ขั้นที่สูงขึ้นโดยลําดับตอไป...” และนับจากนั้นเปนตนมาพระองคไดทรงเนนย้ําถึงแนวทางการพัฒนา

               หลักแนวคิดพึ่งตนเองเพื่อใหเกิดความพอมี พอกิน พอใชของคนสวนใหญ โดยใชหลักความพอประมาณ
               การคํานึงถึงความมีเหตุผล การสรางภูมิคุมกันในตัวที่ดี ตลอดจนทรงเตือนสติปวงชนชาวไทยไมใหประมาท

               มีความตระหนักถึงการพัฒนาอยางเปนขั้นเปนตอนที่ถูกตองตามหลักวิชา และการมีคุณธรรมเปนกรอบใน

               การปฏิบัติและการดํารงชีวิต
                      ในป พ.ศ. 2540 ประเทศไทยประสบกับภาวะวิกฤติเศรษฐกิจ นับวาเปนบทเรียนของการพัฒนาที่

               ไมสมดุลและไมมีเสถียรภาพ  ซึ่งสงผลกระทบตอความเปนอยูของประชาชนสวนใหญ สวนหนึ่งเปนผลมา
               จากการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่ไมไดคํานึงถึงระดับความเหมาะสมกับศักยภาพของประเทศ หรือความ

               พรอมของคนและระบบและอีกสวนหนึ่งนั้น การหวังพึ่งพิงจากตางประเทศมากเกินไปทั้งในดานความรู เงิน

               ลงทุน หรือตลาด โดยไมไดเตรียมสรางพื้นฐานภายในประเทศใหมีความมั่นคงและเขมแข็ง หรือสราง
               ภูมิคุมกันที่ดีเพื่อใหสามารถพรอมรับความเสี่ยงจากความผกผันเปลี่ยนแปลงของปจจัยภายในและภายนอก

               บทเรียนจากการพัฒนาที่ผานมานั้นทําใหประชาชนคนไทยทุกระดับในทุกภาคสวนของสังคม ทั้งภาครัฐ
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14