Page 10 - เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
P. 10

ห น้ า  | 3



               เอกชน ประชาสังคม นักวิชาการ หันกลับมาทบทวนแนวทางการพัฒนาและการดําเนินชีวิตของคนในชาติ
               แลวมุงใหความสําคัญกับพระราชดําริของพระบามสมเด็จพระเจาอยูหัวในเรื่องการพัฒนาและการดําเนิน

               ชีวิตแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และศึกษาคนควาพัฒนาความรู ความเขาใจเกี่ยวกับแนวคิดเศรษฐกิจ

               พอเพียงทั้งในเชิงกรอบแนวคิดทางทฤษฎีและใชเปนแนวในการนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันมากขึ้น
                      สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติไดเชิญผูทรงคุณวุฒิจากหนวยงาน

               ตางๆ มารวมกันพิจารณา กลั่นกรอง พระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวที่ไดพระราชทานแก
               ปวงชนชาวไทยในโอกาสตางๆ ที่เกี่ยวของกับเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงแลวสรุปเปนนิยามความหมายปรัชญา

               ของเศรษฐกิจพอเพียง และไดอัญเชิญเปนปรัชญานําทางในการจัดทําแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคม

               แหงชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545 - 2549) และฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 - 2554) เพื่อสงเสริมใหประชาชนทุก
               ระดับและทุกภาคสวนของสังคมมีความเขาใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและนําไปเปนพื้นฐาน

               และแนวทางในการดําเนินชีวิตอันจะนําไปสูการพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน ประชาชนมีความเปนอยูรมเย็น
               เปนสุข สังคมมีความเขมแข็ง และประเทศชาติมีความมั่นคง



               ความหมาย

                      ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาที่เปนแนวคิด หลักการ และแนวทางปฏิบัติตนของ
               แตละบุคคลและองคกรทุกระดับตั้งแตระดับครอบครัว ระดับชุมชน และระดับประเทศทั้งในการพัฒนาและ

               บริหารประเทศใหดําเนินไปในทางสายกลาง โดยคํานึงถึงความพอประมาณกับศักยภาพตนเองและสภาวะ

               แวดลอม ความมีเหตุผลและการมีภูมิคุมกันที่ดีในตัวเองโดยใชความรูอยางถูกหลักวิชาการดวยความ
               รอบคอบและระมัดระวังควบคูไปกับการมีคุณธรรม ไมเบียดเบียนกัน แบงปน ชวยเหลือซึ่งกันและกันและ

               รวมมือปรองดองกันในสังคม ซึ่งนําไปสูความสามัคคี การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืนพรอมรับตอการ

               เปลี่ยนแปลงภายใตกระแสโลกาภิวัตนได
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15