Page 15 - เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
P. 15

8 | ห น้ า



                      อภิชัย พันธเสน ผูอํานวยการสถาบันการจัดการเพื่อชนบทและสังคม ไดจัดแนวคิดเศรษฐกิจพอ
               เพียงวาเปน “ขอเสนอในการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตามแนวทางของพุทธธรรมอยางแทจริง” ทั้งนี้

               เนื่องจากในพระราชดํารัสหนึ่ง ไดใหคําอธิบายถึง เศรษฐกิจพอเพียงวา “คือความพอประมาณ ซื่อตรง
               ไมโลภมาก และตองไมเบียดเบียนผูอื่น”

                      ระบบเศรษฐกิจพอเพียง มุงเนนใหบุคคลสามารถประกอบอาชีพไดอยางยั่งยืน และใชจายเงินที่ได

               มาอยางพอเพียงและประหยัด ตามกําลังของเงินของบุคคลนั้น โดยปราศจากการกูหนี้ยืมสิน และถามีเงิน
               เหลือก็แบงเก็บออมไวบางสวน ชวยเหลือผูอื่นบางสวน และอาจจะใชจายมาเพื่อปจจัยเสริมอีกบางสวน

               (ปจจัยเสริมในที่นี้เชน ทองเที่ยว ความบันเทิง เปนตน) สาเหตุที่แนวทางการดํารงชีวิตอยางพอเพียง ไดถูก

               กลาวถึงอยางกวางขวางในขณะนี้เพราะสภาพการดํารงชีวิตของสังคมทุนนิยมในปจจุบันไดถูกปลูกฝง สราง
               หรือกระตุน ใหเกิดการใชจายอยางเกินตัวในเรื่องที่ไมเกี่ยวของหรือเกินกวาปจจัยในการดํารงชีวิต เชน การ

               บริโภคเกินตัว ความบันเทิงหลากหลายรูปแบบความสวยความงาม การแตงตัวตามแฟชั่น การพนันหรือ
               เสี่ยงโชค เปนตน จนทําใหไมมีเงินเพียงพอเพื่อตอบสนองความตองการเหลานั้น สงผลใหเกิดการกูหนี้ยืมสิน

               เกิดเปนวัฏจักรที่บุคคลหนึ่งไมสามารถหลุดออกมาได ถาไมเปลี่ยนแนวทางในการดํารงชีวิต

                      แมวาการอธิบาย ถึงคุณลักษณะและเงื่อนไขในปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  จะใชคําวาความรูอัน
               เปนที่ตกลงและเขาใจกันทั่วไป  แตหากพิจารณาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ไดทรงพระกรุณาปรับปรุง

               แกไขและพระราชทานพระบรมราชานุญาต  ใหนําไปเผยแพรอยางละเอียดนั้น  กลับพบคําวา
               “ความรอบรู” ซึ่งกินความมากกวาคําวา “ความรู” คือนอกจากจะอาศัยความรูในเชิงลึกเกี่ยวกับงานที่จะ

               ทําแลว  ยังจําเปนตองมีความรูในเชิงกวาง   ไดแกความรูความเขาใจในขอเท็จเกี่ยวกับสภาวะแวดลอม  และ

               สถานการณที่เกี่ยวพันกับงานที่จะทําทั้งหมด  โดยเฉพาะที่พระองคทานทรงเนน คือระบบชีวิตของคนไทย
               อันไดแกความเปนอยู ความตองการ วัฒนธรรม และความรูสํานึกคิดโดยเบ็ดเสร็จ  จึงจะทํางานใหบรรลุ

               เปาหมายได

                      การนําองคประกอบดานความรูไปใชในปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใชในทางธุรกิจ  จึงมิ
               ไดจํากัดอยูเพียงความรู  ที่เกี่ยวของกับมิติทางเศรษฐกิจ ที่คํานึงถึงความอยูรอด  กําไร หรือการเจริญเติบโต

               ของกิจการแตเพียงอยางเดียว  แตรวมถึงความรูที่เกี่ยวของกับมิติทางสังคม สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรมของ

               คนในทองถิ่นนั้นๆ สอดคลองตามหลัก การไมติดตํารา  เชน ไมควรนําเอาความรูจากภายนอก หรือจากตาง
               ประเทศ  มาใชกับประเทศไทยโดยไมพิจารณาถึงความแตกตาง  ในดานตางๆอยางรอบคอบระมัดระวัง

               หรือไมควรผูกมัดกับวิชาการทฤษฎี  และเทคโนโลยีที่ไมเหมาะสมกับสภาพชีวิต  และความเปนอยูที่แทจริง
               ของคนไทยและสังคมไทย

                      ยิ่งไปกวานั้น  ความรู  ที่ปรากฏในปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง  ยังประกอบไปดวยความระลึกรู

               (สติ)กับ ความรูชัด (ปญญา) ซึ่งถือเปนองคประกอบสําคัญที่วิชาการหรือทฤษฎี ในตะวันตกที่เกี่ยวกับการ
               จัดการความรู  ยังไมครอบคลุมถึง หรือยังไมพัฒนากาวหนาไปถึงขั้นดังกลาว จึงไมมีแนวคิด หรือเครื่องมือ
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20