Page 18 - เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
P. 18

ห น้ า  | 11




                      เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสําคัญการบริหารจัดการชุมชน


                      ความหมายของชุมชน  ชุมชน หมายถึงถิ่นฐานที่อยูของกลุมคน ถิ่นฐานนี้มีพื้นที่อางอิงได และกลุ

               มคนนี้มีการอยูอาศัยรวมกัน  มีการทํากิจกรรม  เรียนรู  ติดตอ  สื่อสาร  รวมมือและพึ่งพาอาศัยกัน  มี

               วัฒนธรรมและภูมิปญญาประจําถิ่น  มีจิตวิญญาณ  และความผูกพันอยูกับพื้นที่แหงนั้น  อยูภายใตการ
               ปกครองเดียวกัน

                      โครงสรางของชุมชน ประกอบดวย 3 สวนคือ
                      1. กลุมคน หมายถึง การที่คน 2 คนหรือมากกวานั้นเขามาติดตอเกี่ยวของกัน และมีปฏิสัมพันธ

               ตอกันทางสังคมในชั่วเวลาหนึ่งดวย ความมุงหมายอยางใดอยางหนึ่งรวมกัน

                      2. สถาบันทางสังคม เมื่อคนมาอยูรวมกันเปนกลุมแลว และมีวิวัฒนาการไปถึงขั้นตั้งองคกรทาง
               สังคมแลว ก็จะมีการกําหนดแบบแผนของการปฏิบัติตอกันของสมาชิกในกลุมเพื่อสามารถดําเนินการตาม

               ภารกิจ
                      3. สถานภาพและบทบาทสถานภาพ หมายถึง ตําแหนงทางสังคมของคนในกลุมหรือสังคมบทบาท

               หมายถึง พฤติกรรมที่คนในสังคมตองทําตามสถานภาพในกลุมหรือสังคม

                      ชุมชนที่มีความสามารถในการบริหารจัดการชุมชนอยางมีประสิทธิภาพ ตองมีองคประกอบสําคัญ
               หลายประการและสามารถพัฒนาหรือควบคุมองคประกอบเหลานั้นได  โดยมีนักวิชาการหลายทานที่ได

               ศึกษาและวิเคราะหองคประกอบการพัฒนาชุมชนไวตามแนวคิดการพัฒนาชุมชน ดังตอไปนี้

                      สนทยา พลตรี (2533 : 65 – 68) ไดกลาวถึงการพัฒนาชุมชนวามีองคประกอบ 2 ประการ สรุปได
               ดังนี้

                      1. การเขามีสวนรวมของประชาชน  เพื่อที่จะปรับปรุงระดับความเปนอยูใหดีขึ้น    โดยจะตอง

               พึ่งตนเองใหมากที่สุดเทาที่จะเปนได  และควรเปนความริเริ่มของชุมชนเองดวย
                      2. การจัดใหมีการบริการทางเทคนิคและบริการอื่นๆที่จะเรงเราใหเกิดความคิดริเริ่ม  การชวย

               เหลือตนเอง ชวยเหลือกันและกัน  อันเปนประโยชนมากที่สุด
                        คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (2539 : 1 – 2) ไดกลาวถึงลักษณะการ

               พัฒนาคนและสิ่งแวดลอม  ซึ่งอาจถือวาเปนองคการพัฒนาชุมชนดวย สรุปไดดังนี้

                      1. การพัฒนาคนประกอบดวย 4 ดานดังนี้
                        ดานจิตใจ

                        ดานรางกาย
                        ดานสติปญญา

                        ดานบุคลิกภาพ
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23