Page 16 - เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
P. 16

ห น้ า  | 9



               ทางการบริหารจัดการความรูใดๆ  ที่มีความละเอียดลึกซึ้งเทากับที่ปรากฏอยูในปรัชญาของเศรษฐกิจ
               พอเพียงอีกแลว

                      พิพัฒน    ยอดพฤติการ    ไดกลาวไวในบทความ  เรื่องที่มักเขาใจผิดเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง
               วาเศรษฐกิจพอเพียงมีรากฐานมาจากแนวคิดในการสรางความ “พอมี” (คือการผลิต) “พอกิน-พอใช”

               (การบริโภค)ใหเกิดขึ้นแกประชาชนสวนใหญของประเทศ เพราะถาประชาชนสวนใหญของประเทศยังยาก

               ไรขัดสน  ยังมีชีวิตความเปนอยูอยางแรนแคน  การพัฒนาประเทศก็ยังถือวาไมประสบความสําเร็จ
                      เศรษฐกิจพอเพียง  สําหรับคนทุกกลุม  มิใชแคเกษตรกร  การสรางความ“พอกิน-พอใช”

               ในเศรษฐกิจพอเพียงนี้  มุงไปที่ประชาชนในทุกกลุมสาขาอาชีพที่ยังมีชีวิตแบบ “ไมพอกิน-ไมพอใช” หรือ

               ยังไมพอเพียง ซึ่งมิไดจํากัดอยูเพียงแคคนชนบท หรือเกษตรกร เปนแตเพียงวา ประชาชนสวนใหญของ
               ประเทศที่ยังยากจนนั้นมีอาชีพเกษตรกรมากกวาสาขาอาชีพอื่น  ทําใหความสําคัญลําดับแรกจึงมุงเขาสู

               ภาคเกษตรหรือชนบทที่แรนแคน  จนมีรูปธรรมของการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงออกมาเปน
               เกษตรทฤษฎีใหม อันเปนที่ประจักษในความสําเร็จของการยกระดับชีวิตความเปนอยูของเกษตรกรให

               “พอมี” “พอกิน-พอใช” หรือสามารถพึ่งตนเองได ในหลายพื้นที่ทั่วประเทศ







               กิจกรรมที่ 1
                      1. ใหผูเรียนบอกถึงความเปนมาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยสังเขป

                      2. ใหผูเรียนเขียนอธิบายความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง

                      3.  เศรษฐกิจพอเพียงมีหลักแนวคิดอยางไร จงอธิบาย
                      4.  ใหผูเรียนบอกถึงความสําคัญของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงวามีความสําคัญอยางไร
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21