Page 20 - เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
P. 20

ห น้ า  | 13



                      1. นโยบายระดับชาติ ฝายบริหารจะสามารถดําเนินการแผนพัฒนาไดตอเนื่อง และมีเวลาพอที่จะ
               เห็นความถูกตอง คุมคา มีแนวทางประสานประโยชนระหวางรัฐและเอกชน และความรวมมือระหวาง

               ประเทศจะตองเกื้อกูลตอการพัฒนา
                      2. องคการบริหารการพัฒนาชนบท            ที่มีองคกรกลางทําหนาที่ประสานนโยบาย

               แผนงานและโครงการอยางมีประสิทธิภาพและมีอํานาจเด็ดขาดในการลงทุนในหนวยปฏิบัติตองดําเนินการ

               ตามนโยบาย  แผนงาน  และโครงการในแผนระดับชาติ  และจัดงบประมาณการติดตามควบคุมที่มี
               ประสิทธิภาพ

                      3.  วิทยาการที่เหมาะสมและการจัดการบริการที่สมบูรณ เลือกพื้นที่และกลุมเปาหมายที่สอดคลอง

               กับความเปนจริง และเลือกวิทยาการที่ประชาชนจะไดรับใหเหมาะสม
                      4. การสนับสนุนระดับทองถิ่น ความรับผิดชอบของการสนับสนุนงานในทองถิ่นที่มีประสิทธิภาพ

               จะเกิดการพัฒนาอยางแทจริงในระยะยาว
                      5. การควบคุมดูแลและติดตามผลการปฏิบัติงาน ควรเปนไปตามแผนงานและโครงการทุกระดับ

               และครอบคลุมทุกพื้นที่ พรอมทั้งใหสถาบันการศึกษาทองถิ่นติดตามประเมินผล


                      อัชญา เคารพาพงศ (2541 : 82 – 83) กลาวถึงปจจัยสวนประกอบที่มีอิทธิพลตอการพัฒนา สรุป
               ไดดังนี้

                      1. ผูนํา ไดแก ผูนําทองถิ่น ทั้งเปนทางการและไมเปนทางการในหมูบาน และจากองคกรภาครัฐ มี

               สวนใหชุมชนพัฒนาในทางที่ดีขึ้น เปนประโยชน ชุมชนมีเจตคติที่ดียอมรับสิ่งใหมและสรางพลังตอสูเพื่อการ
               เปลี่ยนแปลง

                      2. สังคม  –  วัฒนธรรม    การไดรับวัฒนธรรมจากสังคมเมืองมาปฏิบัติทําใหชุมชนเกิดการ

               เปลี่ยนแปลง
                      3.  สิ่งแวดลอม  การปรับปรุงสภาพแวดลอมภูมิศาสตรชุมชน  สงผลใหที่ดินอุดมสมบูรณ

               ราคาสินคาเกษตรดี ความเปนอยูสะดวกสบายกวาเดิม

                      4.  ประวัติศาสตร เหตุการณสําคัญในอดีตมีผลตอการพัฒนาความสามัคคี รักพวกพอง ชวยเหลือซึ่ง
               กันและกัน


                      ปรียา พรหมจันทร (2542 : 25) ไดสรุปองคประกอบที่เปนปจจัยการพัฒนาชุมชนไดดังนี้

                      1. ดานเศรษฐกิจ ชุมชนที่เศรษฐกิจดีการพัฒนาชุมชนสามารถพัฒนาไดดีดวย
                      2. ดานสังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอม เปนบริบทที่ปรับเปลี่ยนสภาพชุมชนไปตามปจจัย

                      3. ดานการเมือง หมายรวมถึงการเมืองระดับชาติและชุมชนระดับทองถิ่น
                      4. ดานประวัติศาสตร  โดยอาศัยประสบการณและวิกฤตของชุมชนเปนฐานและบทเรียนการ

               พัฒนาชุมนุม
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25