Page 25 - เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
P. 25

18 | ห น้ า



               จนกระทั่งพัฒนามาเปนธนาคารกุดกะเสียนรวมใจ โดยการปลอยสินเชื่อในอัตราดอกเบี้ยต่ําใหคนในชุมชน

               ไปประกอบอาชีพ อาชีพหลักทํานา  คาขายเฟอรนิเจอร  เครื่องใชไฟฟา  ชุดเครื่องนอน  ชุดเครื่องครัวฯลฯ

                        ทั้งมีการรวมกลุมอาชีพ กลุมเลี้ยงโค กลุมทําน้ํายาลางจาน กลุมน้ํายาสระผม กลุมเพาะเห็ด

               กลุมเกษตรกรทํานา กลุมจักสาน

                        หนึ่งในชุมชนตัวอยางที่กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย คัดเลือกมาเปนตนแบบในการ

               สงเสริมการบริหารจัดการชุมชนใหเขมแข็งอยางยั่งยืน นายปรีชา บุตรศร ี อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชนกลาววา


               ประเด็นยุทธศาสตรหนึ่งในการสงเสริมการบริหารการจัดการชุมชน คือ การเพิ่มขีดความสามารถผูนําชุมชน

               เพื่อใหผูนําชุมชนเปนกําลังหลักในการบริหารจัดการชุมชนใหชุมชนเขมแข็งและพึ่งตนเองไดในที่สุด






















                      ยุทธศาสตรในการทํางานของกรมการพัฒนาชุมชน ทั้ง 5 ประเด็น ประกอบดวย การพัฒนาทุน


               ชุมชนการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนใหเขมแข็ง การเพิ่มขีดความสามารถผูนําชุมชนนําขับเคลื่อนแผนชุมชน

               และการสงเสริมการจัดการความรูชุมชน บนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ซึ่งมีเปาหมายสรางผูนําชุมชน

               ระดับแกนนําทั่วประเทศจํานวน 691,110 คน ภายใน 4 ป ในป 2551ดําเนินการใน 217 หมูบานทั่วประเทศ

               เพื่อใหไดผูนําชุมชน ที่มีภาวะผูนํา มีคุณธรรม จริยธรรม องคความรู เปนกลุมแกนนําในการขับเคลื่อนและ

               ผลักดันนโยบายของรัฐในระดับชุมชน ใหมีทิศทางการพัฒนาชุมชน สอดคลองกับการพัฒนาประเทศ

                      “สิ่งที่ทําใหหมูบานไดรับการคัดเลือกมาจากการดําเนินการทั้ง  6  ดาน  ประกอบดวย  การลด

               รายจาย เพิ่มรายได การเรียนรู อนุรักษ เอื้ออาทร และการประหยัด สิ่งที่คณะกรรมการมาดูแลวประทับใจ


               ที่สุด คือ สถาบันการเงิน” นายสมานกลาว ซึ่งไดนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการดําเนินการบริหาร

               ธนาคารชุมชน กุดกะเสียนรวมใจ การประหยัด อดออม ออมเพื่อนําไปใชในการผลิต ไมนําไปใชฟุมเฟอย ใหกู

               โดยถือหลักความพอประมาณ ถือหลักมีเหตุมีผล และมีภูมิคุมกันในตัวที่ดี ภายใตเงื่อนไขความรู คือ รอบรู
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30