Page 19 - เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
P. 19

12 | ห น้ า



                      2. การพัฒนาสภาพแวดลอมใหเอื้อตอการพัฒนา ประกอบดวย 4 ดานดังนี้
                        ดานเศรษฐกิจ

                        ดานครอบครัวและชุมชน
                        ดานทรัพยากรและสิ่งแวดลอม

                        ดานการบริหารจัดการและการเมือง


                      สุพัตรา สุภาพ (2536 : 124 – 126) ไดกลาวถึงปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงทางสังคม

               ซึ่งเปนองคประกอบการพัฒนาชุมชน วามี 7 ประการดังนี้
                      1. สิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ  หากมีความสมบูรณจะสงผลใหชุมชนมีการพัฒนาไดรวดเร็วและ

               มั่นคง
                      2. การเปลี่ยนแปลงดานประชากร  การเพิ่มประชากรที่มีคุณภาพสามารถทําใหเกิดการพัฒนา

               ดานเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองที่ทันสมัยขึ้น

                      3.  การไดอยูโดดเดี่ยวและติดตอเกี่ยวของ  ชุมชนใดที่มีการติดตอกันทําใหการพัฒนาเปนไปอยาง
               รวดเร็ว

                      4. โครงสรางของสังคมและวัฒนธรรม  ชุมชนที่มีการเคารพผูอาวุโสจะมีการเปลี่ยนแปลงนอย
               คานิยมตางๆ ชวยใหรูวาชุมชนมีการเปลี่ยนแปลงเกิดการพัฒนาขึ้นมากนอยเพียงไร

                      5.  ทัศนคติและคานิยม  การมีคานิยมดานอาชีพ  ดานบริโภค  เปนสวนของการจัดการ

               พัฒนาในชุมชนนั้นได
                      6. ความตองการรับรู  การยอมรับสิ่งประดิษฐใหมๆ  จะเปนเครื่องชี้ทิศทางและอัตราการ

               เปลี่ยนแปลงของชุมชน

                      7.  พื้นฐานทางวัฒนธรรม  ถามีฐานที่ดีสิ่งใหมที่จะเกิดขึ้นยอมดีตามพื้นฐานเดิมดวย


                      พลายพล คุมทรัพย (2533 : 44 – 47) ไดกลาวถึงปจจัยที่สามารถใชในการพัฒนาชุมชน  ซึ่งเปน
               องคประกอบการพัฒนาชุมชน วาประกอบดวย 3 ปจจัย ดังนี้

                      1. โครงสรางทางสังคม ครอบครัวที่มีขนาดเล็กและมีโครงสรางไมซับซอนจะสงผลใหชุมชนนั้น
               พัฒนาไดดีกวาชุมชนที่มีโครงสรางทางครอบครัวที่ซับซอน

                      2. โครงสรางทางชนชั้น ในชุมชนที่มีโครงสรางแบบเปด ที่สามารถเปลี่ยนแปลงฐานะทางสังคม

               ไดงาย ชุมชนนั้นจะเกิดการพัฒนา
                      3. ความแตกตางทางเผาพันธุ เชื้อชาติ และศาสนา ความแตกตางหากเกิดขึ้นในชุมชนใดยอมเปน

               อุปสรรคตอการพัฒนา ตามลําดับความแตกตาง


                      ยุวัฒน วุฒิเมธ ี (2531 : 58 – 63) กลาวถึงปจจัยที่เกื้อกูลใหการพัฒนาชนบทบรรลุความสําเร็จ
               จําเปนตอการพัฒนา วาดวยองคประกอบ และสวนประกอบยอยขององคประกอบ ดังนี้
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24