Page 23 - ทักษะการเรียนรู้ (ทร21001) ม.ต้น
P. 23

16



                  เรื่องที่ 2 หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการประกอบอาชีพ


                         จากพระราชดํารัส  : เศรษฐกิจพอเพียง มิไดจํากัดเฉพาะของเกษตรกรหรือชาวไรชาวนาเพียงเทานั้น

                  แตเปนเศรษฐกิจของทุกคนทุกอาชีพ ทั้งที่อยูในเมืองและอยูในชนบท เชน ผูที่ไดเปนเจาของโรงงาน

                  อุตสาหกรรมและบริษัทในระบบเศรษฐกิจพอเพียง ถาจะตองขยายกิจการเพราะความเจริญเติบโตจากเนื้อของ
                  งาน โดยอาศัยการขยายตัวอยางคอยเปนคอยไป หรือหากจะกูยืมก็กระทําตามความเหมาะสม ไมใชกูมาลงทุน

                  จนเกินตัวจนไมเหลือที่มั่นใหยืนอยูได เมื่อภาวะของเงินผันผวน ประชาชนก็จะตองไมใชจายฟุมเฟอยเกินตัว
                  และ (จากการศึกษารายงานการวิจัยศึกษาการประกอบอาชีพตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชน

                  บานโงกน้ํา)  นําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในกระบวนการประกอบอาชีพของชุมชนบาน
                  โงกนํ้า   ตําบลนาขยาด  อําเภอควนขนุน  จังหวัดพัทลุง ไดรับการคัดเลือกใหเปนหมูบานเศรษฐกิจชุมชน

                  พึ่งตนเอง ของจังหวัดพัทลุง ในป 2544 และเปนหมูบานตนแบบในการสงเสริมเศรษฐกิจพอเพียงทั้งใน

                  ระดับครัวเรือน กลุมองคกร  และระดับหมูบาน ไดยึดหลักทางสายกลาง อันไดแก              3 หวงยึด
                  เหนี่ยว และ2 หวงเงื่อนไขการปฏิบัติ โดยเสนอผลการวิคราะหในแตละดานดังนี้



                  3 หวงยึดเหนี่ยว

                         1.  ดานความพอประมาณ
                               ชุมชนรูจักใชทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูอยางพอเพียง  เหมาะสมแบบคอยเปนคอยไป

                  ใชเทคโนโลยีเทาที่จําเปน มีรายไดเสริมจากการปลูกผัก เลี้ยงสุกร เลี้ยงโค เลี้ยงปลาดุก ไวจุนเจือครอบครัว
                  อีกทางหนึ่ง สภาพเศรษฐกิจของครอบครัวเหมาะสมตามอัตภาพของตน

                         2.  ดานความมีเหตุผล

                              ใชทรัพยากรทุกชนิดอยางประหยัดและมีประสิทธิภาพสูงสุด เนนการใชวัตถุดิบภายในทองถิ่น
                  และตอบสนองตลาดในทองถิ่น เนนการจางงานเปนหลัก โดยไมนําเทคโนโลยีมาทดแทนแรงงาน มีขนาดการ

                  ผลิตที่สอดคลองกับความสามารถในการบริหารจัดการ เชน ใชพื้นที่ทางการเกษตรที่วางอยูอยางคุมคา  โดย

                  การปลูกพืชผักสวนครัวขางบาน พื้นที่สวนขางบาน ตามสายรั้วบาน บางครอบครัว ก็ปลูกพืชผักและผลไม
                  ครบวงจรเพื่อลดคาใชจาย บางครอบครัวก็เลี้ยงโค  เลี้ยงสุกร  เลี้ยงปลาดุก  กลุมอาชีพทําขนมเพื่อเพิ่ม

                  รายไดใหแกครัวเรือนจากอาชีพเสริม “ชาวบานโงกน้ําสวนใหญประกอบอาชีพอยูในชุมชน

                  ไมคอยไปทํางานนอกหมูบานและไมคอยมีคนนอกมาคาขายหรือประกอบอาชีพในหมูบาน
                         3.  ดานความมีภูมิคุมกันในตัวที่ดี

                               เนนการกระจายความเสี่ยงจากการมีผลผลิตหลากหลาย ไมกอหนี้จนเกินความสามารถใน
                  ความบริหารจัดการ มีการเปดศูนยปราชญชาวบานขึ้นที่กลุมออมทรัพยบานโงกนํ้า ถายทอดความรูและ

                  ประสบการณใหกับคนในชุมชน  และกลุมอาชีพตางๆ  ทั้งที่เปนทางการและไมเปนทางการอยางตอเนื่อง มี
                  การทํากลุมปุยชีวภาพอัดเม็ด ซึ่งทําใหลดคาใชจายในการซื้อปุยเคมีไดคอนขางมาก การรวมกลุมทํา

                  ปลาดุกราทําใหเพิ่มมูลคาของปลาดุก และถนอมอาหารเก็บไวรับประทานไดนานขึ้น นอกจากชวยในดาน การ
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28