Page 31 - ทักษะการเรียนรู้ (ทร21001) ม.ต้น
P. 31

24



                  สินคาและบริการทางดานการเกษตร ผลผลิตทางการเกษตรนอกจากใชในการบริโภคแลวยังใชเปนวัตถุดิบ

                  ในการผลิตทางอุตสาหกรรมอีกดวย ไดแก การทํานา การทําไร ทําสวน เลี้ยงสัตว ฯลฯ พระบาทสมเด็จพระ
                  เจาอยูหัวฯ ไดพระราชทานพระราชดําริฯ ใหเกษตรกรซึ่งเปนคนสวนใหญของประเทศมีความแข็งแรงพอกอนที่จะ


                  ไปผลิตเพื่อการคาหรือเชิงพาณิชย โดยยึดหลักการ “ทฤษฎีใหม” 3 ขั้น คือ
                         ขั้นที่  1  มีความพอเพียง เลี้ยงตัวเองไดบนพื้นฐานของความประหยัดและขจัดการใชจาย
                         ขั้นที่  2  รวมพลังกันในรูปกลุม เพื่อการผลิต การตลาด การจัดการ รวมทั้งดานสวัสดิการ


                  การศึกษา การพัฒนาสังคม
                         ขั้นที่ 3  สรางเครือขาย กลุมอาชีพและขยายกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่หลากหลาย โดยประสาน
                  ความรวมมือกับภาคธุรกิจ ภาคองคกรพัฒนาเอกชน และภาคราชการในดานเงินทุน การตลาด การผลิต

                  การจัดการและขาวสารขอมูล

                         ทฤษฎีใหมเปนแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช เกี่ยวกับการจัด
                  พื้นที่ดินเพื่อการอยูอาศัยและมีชีวิตอยางยั่งยืน โดยมีแบงพื้นที่เปนสวน ๆ ไดแก พื้นที่น้ํา พื้นที่ดินเพื่อเปนที่

                  นาปลูกขาว พื้นที่ดินสําหรับปลูกพืชไรนานาพันธุ และที่สําหรับอยูอาศัย/เลี้ยงสัตว ในอัตราสวน            3
                  : 3 : 3 :  1 เปนหลักการในการบริหารการจัดการที่ดินและน้ํา เพื่อการเกษตรในที่ดินขนาดเล็กใหเกิด

                  ประสิทธิภาพสูงสุด ดังนี้


                         1. มีการบริหารและจัดแบงที่ดินแปลงเล็ก ออกเปนสัดสวนที่ชัดเจน เพื่อประโยชนสูงสุดของ

                  เกษตรกร ซึ่งไมเคยมีใครคิดมากอน
                         2.  มีการคํานวณโดยหลักวิชาการ เกี่ยวกับปริมาณน้ําที่จะกักเก็บใหพอเพียง ตอการเพาะปลูกได

                  ตลอดป
                         3. มีการวางแผนที่สมบูรณแบบ สําหรับเกษตรกรรายยอย 3 ขั้นตอน เพื่อใหพอเพียงสําหรับเลี้ยง

                  ตนเองและเพื่อเปนรายได
                         ขั้นที่ 1 ทฤษฎีใหมขั้นตน สถานะพื้นฐานของเกษตรกร คือ มีพื้นที่นอย คอนขางยากจน อยูในเขต

                  เกษตรน้ําฝนเปนหลัก โดยในขั้นที่ 1 นี้มีวัตถุประสงคเพื่อสรางเสถียรภาพของการผลิต เสถียรภาพดาน

                  อาหารประจําวัน ความมั่นคงของรายได ความมั่นคงของชีวิต และความมั่นคงของชุมชนชนบท
                  เปนเศรษฐกิจพึ่งตนเองมากขึ้น มีการจัดสรรพื้นที่ทํากินและที่อยูอาศัย ใหแบงพื้นที่ ออกเปน 4 สวน

                  ตามอัตราสวน 30 : 30 : 30 : 10  ซึ่งหมายถึง พื้นที่สวนที่หนึ่งประมาณ 30% ใหขุดสระเก็บกักน้ํา เพื่อใชเก็บ
                  กักน้ําฝนในฤดูฝนและใชเสริมการปลูกพืชในฤดูแลง ตลอดจนการเลี้ยงสัตวน้ําและพืชน้ําตาง ๆ (สามารถ

                  เลี้ยงปลา ปลูกพืชน้ํา เชน ผักบุง ผักกะเฉดฯ ไดดวย) พื้นที่สวนที่สองประมาณ 30% ใหปลูกขาวในฤดูฝน

                  เพื่อใชเปนอาหารประจําวันในครัวเรือนใหเพียงพอตลอดป เพื่อตัดคาใชจายและสามารถพึ่งตนเองได พื้นที่
                  สวนที่สามประมาณ 30% ใหปลูกไมผล ไมยืนตน พืชผัก พืชไร พืชสมุนไพร ฯลฯ เพื่อใชเปนอาหาร

                  ประจําวัน หากเหลือบริโภคก็นําไปจําหนาย และพื้นที่สวนที่สี่ประมาณ 10% ใชเปนที่อยูอาศัย เลี้ยงสัตว
                  และโรงเรือนอื่น ๆ (ถนน คันดิน กองฟาง ลานตาก กองปุยหมัก โรงเรือน โรงเพาะเห็ด คอกสัตว


                  ไมดอกไมประดับ พืชผักสวนครัวหลังบาน เปนตน)
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36