Page 35 - ทักษะการเรียนรู้ (ทร21001) ม.ต้น
P. 35

28



                  และเงื่อนไข จะเห็นไดวา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนําไปใชไดในทุกระดับและประกอบ

                  อาชีพไดในทุกสาขาไมจํากัดเฉพาะภาคเกษตร การประยุกตใชกับภาคธุรกิจและภาคเศรษฐกิจอื่นๆ มี

                  ความสําคัญมาก เนื่องจากแนวโนมสังคมไทยเปนสังคมเมืองมากขึ้น และการผลิตของภาคธุรกิจมีสัดสวนสูง

                  มาก หากภาคธุรกิจไมใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปนแนวทางแลว ยากที่จะเกิด

                  ความพอเพียง (ณัฏฐพงศ ทองภักดี, 2550: 18)

                         ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนําทางการบริหารธุรกิจ โดยไมปฏิเสธระบบการตลาด

                  แตเปนเครื่องชี้นําการทํางานของกลไกตลาดใหมีเสถียรภาพดีขึ้น และไมขัดกับหลักการแสวงหากําไร จึงไม

                  จําเปนตองลดกําไรหรือลดกําลังการผลิตลง แตการไดมาซึ่งกําไรของธุรกิจ ตองอยูบนพื้นฐานของการไมเอา

                  รัดเอาเปรียบผูอื่น หรือแสวงหาผลกําไรเกินควรจากการเบียดเบียนประโยชนของสังคม ตลอดจน



                  ตองคํานึงถึงการใชทรัพยากรในธุรกิจอยาง ประหยัดและมีคุณภาพ ดังพระราชดํารัสเนื่องในวันเฉลิม

                  พระชนมพรรษาวันที่ 4 ธันวาคม 2550 ความวา (พิพัฒน ยอดพฤติการ, 2551ก: 2)


                         “ในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร ไมใชเพียงพอ ไมไดหมายความวา ใหทํากําไรเล็กๆ นอยๆ
                  เทานั้นเอง ทํากําไรก็ทํา ถาเราทํากําไรไดดี มันก็ดี แตวาขอใหมันพอเพียง ถาทานเอากําไรหนาเลือด


                  มากเกินไป มันไมใชพอเพียง นักเศรษฐกิจเขาวาพระเจาอยูหัว นี่คิดอะไรแปลกๆ ก็แปลกสิ ขายไมใหได
                  กําไร ซื้ออะไรไมขาดทุน เปนเศรษฐกิจพอเพียง คือไมตองหนาเลือด แลวไมใชจะมีกําไรมากเกินไป หรือ


                  นอยเกินไป ใหพอเพียง ไมใชเรื่องของการคาเทานั้นเอง เปนเรื่องของการพอเหมาะพอดี”
                         นอกจากนี้ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไมปฏิเสธการเปนหนี้หรือการกูยืมเงินเพื่อการลงทุน


                  ในภาคธุรกิจ โดยยังคงมุงสรางประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดในการผลิต เพื่อความกาวหนาขององคกร
                  แตเนนการบริหารความเสี่ยงต่ํา กลาวคือ การกูยืมเงินเพื่อลงทุนทางธุรกิจ จะตองมีการวิเคราะหและ


                  ประเมินความเสี่ยงที่จะกระทบตอธุรกิจ โดยคํานึงถึงหลักความคุมคาและกําหนดมาตรการรองรับความ

                  เสี่ยงที่ จะเกิดขึ้น (พิพัฒน ยอดพฤติการ, 2551ข: 1)

                         หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสงเสริมใหธุรกิจสามารถแขงขันไดอยางยั่งยืนในระยะยาวและ

                  สรางความพรอมสําหรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต ธุรกิจที่ใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจะแขงขัน

                  อยางพอประมาณตามศักยภาพของตนเอง โดยทําธุรกิจที่มีความชํานาญหรือสรางความรู

                  เพื่อพัฒนาตนเองใหมีความสามารถในการแขงขันที่ ดีขึ้น

                         ดังนั้น หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจึงไมสนับสนุนระบบเศรษฐกิจปดที่ไมเกี่ยวของกับใครไม

                  คาขาย ไมสงออก หรือหันหลังใหกับกระแสโลกาภิวัตน แตเปนปรัชญาที่ เนนการพัฒนาอยางเปนขั้น

                  ตอนบนรากฐานที่เขมแข็ง โดยองคกรธุรกิจตองรูเทาทันความสามารถของตนเอง ใชหลักตนเปนที่พึ่งของ
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40