Page 19 - รายงานโครงการน้ำอุปโภค-บริโภค ปี60
P. 19
โครงการพัฒนาแหล่งน ้าบาดาลเพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน ้าอุปโภค - บริโภค ประจ้าปีงบประมาณ 2560
4. ตู้ควบคุมชนิด 2 ชั นกันน ้าพร้อมอุปกรณ์ควบคุม
5. ท่อทางดูดขนาดตามความเหมาะสมของเครื่องสูบ
หลังจากได้ข้อมูลจากการทดสอบปริมาณน ้าแล้ว ขั นตอนต่อไปจะเป็นการออกแบบเครื่องสูบน ้า (Pump
Design) ซึ่งสามารถดูได้จาก Performance Cure ของเครื่องสูบน ้า โดยดูจากอัตราการสูบ และ Total
Hade ของเครื่องสูบแต่ละขนาด โดยน้าข้อมูลการสูบทดสอบมาพิจารณาหาค่า Maximum yield ของบ่อน ้า
บาดาล โดยให้อัตราการสูบน ้าไม่เกิน 70 – 80 % ของ Maximum yield ของบ่อน ้าบาดาลนั น
การเลือกเครื่องสูบน ้าโดยวิธีการค้านวณ
x H 270
จากสูตร WHP =
x
WHP = แรงม้าของเครื่องสูบน ้า (Water Horse Power), HP.
Q = ปริมาณน ้าที่ต้องการใช้ (ลบ.ม. / ชม. )
H = ระดับน ้าขณะสูบ + ความสูงหอถัง + hl (Loss)
= ประสิทธิภาพของปั้ม (ประมาณ 0.6)
การติดตั งเครื่องสูบน ้าไฟฟ้า (รูปที่ 2-9) จะต้องประกอบมอเตอร์ และตัวเรือนสูบเข้าด้วย โดยหมุนเพลา
ใบพัดไม่ให้ติดขัด พร้อมทั งต่อขั วสายไฟฟ้าเข้ากับตัว Motor และปลายอีกด้านหนึ่ง ต่อกับสายเคเบิลกันน ้าชนิด
VCT. โดยใช้เทปกันน ้าเป็นตัวป้องกันไม่ให้เกิดการไฟฟ้าลัดวงจร จากนั นน้าท่อทางดูดตามขนาดที่เหมาะสมกับ
เครื่องต่อกับเครื่องสูบน ้า และท้าการติดตั งภายในบ่อน ้าบาดาล โดยให้สายไฟฟ้าแนบกับท่อทางดูด โดยสาย
เคเบิลหรือเทปพันสายไฟฟ้าโดยไม่ให้สายไฟฟ้าหย่อน ถ้าสายไฟฟ้าหย่อนจะท้าให้เกิดการติดขัดภายในบ่อน ้า
บาดาลได้ การติดตั งเครื่องสูบจะต้องออกแบบให้เครื่องสูบน ้าจมอยู่ใต้น ้าไม่น้อยกว่า 6–10 เมตร ที่ระดับน ้าขณะ
สูบเครื่องสูบน ้าบาดาลที่ติดตั งจะต้องอยู่เหนือจากท่อกรองน ้า ไม่น้อยกว่า 3 – 5 เมตร
รูปที่ 2-9 กิจกรรมการติดตั้งเครื่องสูบน้ าไฟฟ้า
ส้านักทรัพยากรน ้าบาดาล เขต 10 อุดรธานี 2-7
กรมทรัพยากรน ้าบาดาล