Page 20 - รายงานโครงการน้ำอุปโภค-บริโภค ปี60
P. 20

โครงการพัฒนาแหล่งน ้าบาดาลเพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน ้าอุปโภค - บริโภค ประจ้าปีงบประมาณ 2560


                                                              บทที่3
                                                         ผลการด าเนินงาน



                   1. บ้านดงขวาง หมู่ที่ 1 ต าบลแสนพัน อ าเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม
                          1. ที่ตั้งและลักษณะภูมิประเทศ
                          บ้านดงขวาง หมู่ที่ 1 ต้าบลแสนพัน อ้าเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ตั งอยู่บริเวณพิกัด 473332E

                   1888396N ระวางแผนที่ 5943 II ตามแผนที่ภูมิประเทศมาตราส่วน 1:50,000 ของกรมแผนที่ทหาร ลักษณะภูมิ
                   ประเทศพื นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มและที่ดอน ความสูงจากระดับน ้าทะเลปานกลางประมาณ 170-180 เมตร

                          2. ลักษณะทางอุทกวิทยา
                          บ้านดงขวาง หมู่ที่ 1 ต้าบลแสนพัน อ้าเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม รองรับด้วยชั นหินให้น ้าตะกอนน ้า

                   พา ประกอบด้วย กรวด ทราย การคัดขนาดดี ความกลมมนดี แทรกสลับด้วยชั นหรือเลนส์บางๆ ของดินเหนียว
                   ปนทราย หรือดินลูกรัง ประกอบด้วย กรวดและทรายท้องน ้า หรือคุ้งของล้าน ้า น ้าบาดาลกักเก็บอยู่ในช่องว่าง
                   ระหว่างเม็ดตะกอน ปริมาณน ้าอยู่ในเกณฑ์ระหว่าง 2-10 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง ปริมาณสารทั งหมดที่ละลายได้

                   น้อยกว่า 500 มิลลิกรัมต่อลิตร

                          3. การส ารวจธรณีฟิสิกส์โดยวิธีวัดความต้านทานไฟฟ้า
                          ไม่ได้ด้าเนินการ


                          4. การเจาะและพัฒนาบ่อ
                          การเจาะบ่อน ้าบาดาล มีวัตถุประสงค์เพื่อน้าน ้าขึ นมาใช้ในการอุปโภค-บริโภค โดยการก้าหนดจุดเจาะจะ
                   พิจารณาจากข้อมูลธรณีวิทยา และผลการธรณีฟิสิกส์ เพื่อก้าหนดจุดที่เหมาะสม มีชั นน ้าบาดาลที่ให้ปริมาณน ้า

                   บาดาลมากพอต่อความต้องกันน ้าในการอุปโภค – บริโภค
                          การเจาะบ่อน ้าบาดาลด้าเนินการเจาะด้วยหัวเจาะขนาด 12 นิ ว ส้าหรับการเจาะระบบ Direct Rotary
                   และ 8 นิ วส้าหรับการเจาะระบบ Air Rotary โดยความลึกส้าหรับการเจาะด้วยระบบ Direct Rotary จะเจาะ
                   ความลึกไม่น้อยกว่า 6 เมตร หรือแล้วแต่ดุลยพินิจของช่างเจาะขณะท้าการเจาะบ่อนั นๆ และจนกว่าจะถึงชั นหิน

                   แข็งส้าหรับการเจาะแบบ Air Rotary แล้วติดตั งท่อกันพัง จากนั นเจาะด้วยหัวเจาะขนาด 6 ½ ตลอดความลึกที่
                   ต้องการ การด้าเนินการเจาะบ่อน ้าบาดาล และในขณะท้าการเจาะช่างเจาะจะท้าการเก็บตัวอย่างเศษดิน-หิน
                   ทุกๆ 1 เมตร น้าเศษหินของแต่ละบ่อมาใส่ถาด เพื่อให้นักธรณีวิทยาศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพ และคุณสมบัติ

                   ทางธรณีวิทยาของชั นหินต่างๆ ที่เจาะพบ เพื่อน้าข้อมูลมาใช้ในการติดตั งท่อกรุ ท่อกรอง เลือกขนาดกรวดกรุ
                          การก่อสร้างบ่อน ้าบาดาล ด้าเนินการก่อสร้างแบบกรวดกรุรอบท่อ (Artificial Gravel Packed) โดยใช้
                   กรวดแม่น ้าคัดขนาดตามความเหมาะสมของชั นน ้า โดยกรุกรวดรอบท่อกรองเหนือท่อกรองไม่เกิน 5 เมตร ใส่
                   รอบท่อกรองน ้าในช่วงชั นกรวดทรายให้น ้า เหนือกรวดกรุ ใส่ดินเหนียวน ้าจืดทับกรวดกรุจนถึงความลึกไม่น้อย
                   กว่า 6 เมตร จากระยะผิวดิน ช่วงที่เหลือผนึกด้วยซีเมนต์จนถึงผิวดินเทคอนกรีตรอบเป็นชานบ่อ ขนาด 1 x 1 x

                   0.15 เมตร





                   ส้านักทรัพยากรน ้าบาดาล เขต 10 อุดรธานี     3-1
                   กรมทรัพยากรน ้าบาดาล
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25